Taiwan needs to face the issue of a decade-long ban on Japanese food imports from areas affected by the 2011 nuclear disaster, now that it has formally applied to join the Tokyo-led #CPTPP, the nation's top trade negotiator said on Thursday.
https://focustaiwan.tw/politics/202109230005
同時也有3部Youtube影片,追蹤數超過7萬的網紅Tony Jaa,也在其Youtube影片中提到,A Copy of Triple Threat: https://amzn.to/2LCWbQQ Tony Jaa: Upcoming movies 2017 (Paradox and Triple Threat) A crime syndicate places a hit on a billi...
the negotiator 在 สมองไหล Facebook 的最讚貼文
ทักษะอย่างหนึ่งที่มีความสำคัญมาก เเต่เเทบไม่มีสอนกันในโรงเรียน ก็คือ “ทักษะการเจรจาต่อรอง” เพราะคนเรามีการต่อรองกันตลอดทั้งวัน ตั้งแต่การต่อรองกับครอบครัวว่าใครจะเป็นคนล้างจาน ต่อรองกับเพื่อนว่าใครจะเป็นคนทำงานดึก ต่อรองกับอาจารย์ให้เลื่อนเวลากำหนดส่งงาน ต่อรองกับพนักงานขายให้ลดราคาสินค้า ต่อรองเงินเดือนกับนายจ้าง จนทระทั่งต่อรองทางธุรกิจ แน่นอนว่าเมื่อคนส่วนใหญ่ไม่มีทักษะในด้านนี้ มันจึงทำให้คนเหล่านั้นมักตกเป็นฝ่ายเสียเปรียบคนที่ต่อรองเก่งเสมอ
.
อย่างไรก็ตาม การเจรจาต่อรองนั้นไม่มีหลักการตายตัวที่สามารถใช้ได้กับทุกสถานการณ์ เพราะแต่ละกลยุทธ์มันขึ้นอยู่กับบริบทและสไตล์ของแต่ละคน แต่กลยุทธ์หนึ่งที่ผมคิดว่าเป็นอาวุธที่ทรงพลังและสามารถใช้ได้เกือบทุกการเจรจาต่อรอง นั่นก็คือ “ความเงียบ”
.
ความเงียบ ถือเป็นหนึ่งในเครื่องมือที่ทรงพลังที่สุดที่ควรจะนำเข้าสู่โต๊ะเจรจาต่อรอง ถึงขนาดที่ The Washington Post เคยมีบทความหนึ่งที่ชื่อว่า “Powerful tools a negotiator has is silence หรือ เครื่องมืออันทรงพลังที่คู่เจรจาควรมี ก็คือ ความเงียบ” ออกมาเลยทีเดียว
.
แต่การเงียบในที่นี้ ก็ไม่ใช่ไปนั่งมองตากันแล้วเงียบอย่างเดียว แต่เราต้องใช้ความเงียบให้เป็นด้วย ซึ่งในพอดแคสต์ของช่อง Taksa Academy ก็ได้สรุปข้อดีของการใช้ความเงียบในการเจรจาต่อรองเอาไว้ 3 ข้อ คือ
.
1) แสดงถึงความมั่นใจ คือ ความเงียบนั้นมันเป็นการสื่อให้อีกฝ่ายเห็นถึงความมั่นใจของเรา แต่การเงียบในที่นี้ อวัจนภาษา สีหน้า แววตา ท่าทางของเราต้องสื่อถึงความมั่นใจด้วย ไม่ใช่เงียบแต่หลบสายตา ทำท่าทางลุกลี้ลุกลน แบบนี้เขาจะรู้ทันทีว่าเราไม่มีความมั่นใจในตัวเอง
.
2) แสดงให้เห็นว่ากำลังฟัง และ เหมือนเป็นการโยนความกดดันไปให้เขา เพราะการที่เรากำลังเงียบเพื่อฟัง นั่นหมายความว่ามันถึงเวลาที่เขาต้องพูดอะไรบางอย่างออกมา
.
3) เป็นการคาดหวังให้เกิดการตอบรับ และ เป็นการสร้างสถานการณ์เพื่อบีบให้อีกฝ่ายรีบตัดสินใจ
.
อย่างไรก็ตาม มีงานวิจัยชิ้นหนึ่งจาก NewDawn Partners ได้บอกเอาไว้ว่า มีคนจำนวนมากคิดเป็น 75-80 เปอร์เซ็นต์ ที่ไม่ใช้ความเงียบให้เป็นประโยชน์เวลาต้องเข้าสู่การเจรจาต่อรอง ส่วนคนอีกส่วนหนึ่งคิดเป็น 15 เปอร์เซ็นต์ มีการใช้ความเงียบในการเจรจาต่อรอง แต่ไม่สามารถใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ และมีคนเพียง 10 เปอร์เซ็นต์เท่านั้น ที่สามารถใช้ความเงียบในการเจรจาต่อรองได้อย่างมีประสิทธิผล
.
แต่การใช้ความเงียบในการเจรจานั้น ก็ไม่ใช่ว่าจะมานั่งเงียบกันอย่างเดียว เพราะถ้าเป็นอย่างนั้นมันคงจะไม่ถูกกาลเทศะสักเท่าไหร่ NewDawn Partners จึงวิเคราะห์ออกมาว่าเราควรจะใช้ความเงียบอย่างไรถึงจะถูกจังหวะในการเจรจาต่อรอง โดยแบ่งออกเป็น 3 เหตุการณ์ ดังนี้
.
เหตุการณ์ที่ 1 หลังจากที่ยื่นข้อเสนออะไรบางอย่างให้ฝ่ายตรงข้าม
.
เช่น คุณกำลังยื่นข้อเสนอให้นายจ้างเพื่อขอขึ้นเงินเดือน แล้วเห็นเจ้านายกำลังเงียบและนั่งครุ่นคิดอยู่ ก็ควรเงียบเสียก่อน
.
แต่คนส่วนใหญ่เวลายื่นข้อเสนอไปแล้วเห็นอีกฝ่ายเงียบ ก็มักจะเกิดความไม่มั่นใจในตัวเอง ทำให้เริ่มออกอาการลุกลี้ลุกลน พอทำตัวไม่ถูกก็เลยต้องพยายามพูดให้เหตุผลมากมายเพื่อทำลายเดดแอร์ กลายเป็นว่าคนที่ยื่นข้อเสนอนั้นแหละพูดมากไปเอง
.
จนสุดท้ายพอไม่มั่นใจในตัวเอง ก็เลยเปลี่ยนใจปฏิเสธข้อเสนอที่ยื่นไปเสียเอง แล้วเป็นคนเดินออกจากห้องไปเองทั้งที่อีกฝ่ายยังไม่ได้พูดอะไรเลยสักคำ
.
ฉะนั้น ถ้าคุณเพิ่งยื่นข้อเสนออะไรบางอย่างไป ให้ลองเงียบดูก่อน เพื่อให้เวลาอีกฝ่ายได้คิดนะครับ
.
เหตุการณ์ที่ 2 ใช้ความเงียบหลังจากถามคำถาม
.
การเงียบหลังจากที่เราเพิ่งโยนคำถามบางอย่างให้อีกฝ่าย ก็เพื่อให้เวลาเขาได้คิด ในขณะเดียวกันก็เป็นการทำให้เขาอึดอัดและต้องรีบตัดสินใจให้คำตอบ
.
แต่หลายครั้งเวลาถามคำถามไป คนที่อึดอัดก็มักจะเป็นคนถามเอง เพราะเห็นอีกฝ่ายเงียบก็เลยกลัวไปเอง ทั้งที่บางทีอีกฝ่ายอาจจะแค่ยังนึกไม่ออกก็ได้ จนสุดท้ายคนที่ถามคำถามนั้นแหละกลับเป็นฝ่ายพูดก่อนแล้วก็เป็นฝ่ายยอมไปเอง ทั้งที่ฝ่ายตรงข้ามยังไม่ได้ตอบอะไรเลย
.
ฉะนั้น เวลาถามคำถามอะไรไป ลองใช้ความเงียบดูก่อน เพราะมันอาจจะทำให้คุณได้คำตอบที่ดีกว่าที่คาดหวังเอาไว้ก็ได้
.
เหตุการณ์ที่ 3 เมื่อถูกท้าทาย
.
ส่วนใหญ่เหตุการณ์นี้มักจะเกิดขึ้นบ่อยที่ประชุมเวลามีการประชุมระดมสมอง แล้วต่างฝ่ายต่างเสนอไอเดียของตัวเอง ตอนแรกก็เหมือนจะไม่มีอะไร แต่พอประชุมกันไปสักพักจนมีการถกเถียงกันมากขึ้น ก็จะเริ่มมีบางคนที่ใช้อารมณ์เกิดขึ้น จนบางครั้งเรามักจะได้ยินคำท้าทายประมาณว่า “ถ้าเก่งนักก็ไปทำเองสิวะ”
.
ถ้าคุณถูกคำท้าทายในลักษณะนี้ หรือ คำท้าทายอื่นๆ ให้ลองใช้ความเงียบดูครับ เพราะความเงียบจะเป็นตัวสะท้อนให้เห็นวุฒิภาวะของเขาเอง ซึ่งมันอาจทำให้เขาเปลี่ยนท่าทีของตัวเอง แล้วจำเป็นต้องกลับไปทบทวนคำท้าทายของเขา ซึ่งสุดท้ายเขาเองอาจจะเป็นคนที่ถอนคำท้าทายของตัวเองทั้งที่เรายังไม่จำเป็นต้องพูดอะไร เพราะสุดท้ายมันก็จะต้องมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งที่ต้องยอมไปที่สุด
.
เมื่อรู้แล้วว่าสถานการณ์ไหนที่เราควรจะเงียบ คราวนี้ลองมาดูกันว่า แล้วเราควรจะเงียบนานแค่ไหน เพราะการใช้ความเงียบก็ต้องมีจังหวะของมัน ไม่ใช่ต่างคนต่างเงียบแล้วนั่งมองหน้ากันเป็นชั่วโมง โดยระยะเวลาของการเงียบจะถูกแบ่งออกเป็น 3 ช่วง ดังนี้
.
ระยะที่ 1 ตั้งแต่ 3-5 วินาที
.
การเงียบในช่วงตั้งแต่ 3-5 วินาที คือ ช่วงเวลาที่ความเงียบเริ่มใช้ได้ผล เพราะมันเหมือนเรากำลังร่ายเวทมนต์ใส่ฝ่ายตรงข้ามอยู่ จนทำให้ฝ่ายตรงข้ามเริ่มเกิดความอึดอัดในการเจรจาครั้งนั้น และเป็นการส่งสัญญาณให้คู่ฝ่ายตรงข้ามรับรู้ว่าเขาจะต้องตัดสินใจทำอะไรบางอย่างแล้ว
.
แต่ในทางกลับกับคนที่ถูกฝึกให้คุ้นเคยกับความเงียบแล้ว อาจจะไม่รู้สึกอึดอัดกับความเงียบในช่วงเวลานี้ และยังสามารถควมคุมสติและสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในระหว่างที่ความเงียบกำลังดำเนินได้อยู่
.
ระยะที่ 2 ตั้งแต่ 5-12 วินาที
.
การเงียบในช่วงตั้งแต่ 5-12 วินาที ถือเป็นช่วงที่ดีที่สุด เพราะเวทมนต์ที่เรากำลังร่ายนั้น กดดันให้เขาอึดอัดจนทำให้เขาต้องตั้งใจที่จะตอบคำถามเรามากขึ้น ซึ่งมันส่งผลให้เราได้รับคำตอบที่มีประสิทธิผลตามที่เราคาดหวังมากขึ้น
.
ระยะที่ 3 ตั้งแต่ 12 วินาที เป็นต้นไป
.
การเงียบในช่วงตั้งแต่ 12 วินาที เป็นต้นไป นั่นหมายความว่าประสิทธิผลของความเงียบนั้นจะเริ่มลดลงแล้ว แล้วก็จะลดลงตามเวลาที่นานขึ้น ซึ่งความอึดอัดในช่วงเวลานี้จะเป็นความอึดอัดที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ใดๆ แล้วถ้าเกิดมันเงียบได้ไปจนถึงจุดที่ 45-60 วินาที มันก็ถึงเวลาแล้วที่คุณจะต้องทำลายความเงียบนั้นลง
.
แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าคุณต้องเป็นฝ่ายยอมในการเจรจาครั้งนั้นเสมอไป อาจจะเป็นไปได้ที่คุณจะตอบกลับไปว่า “เอาเป็นว่าเรามาคุยเรื่องนี้ตอนจบก็แล้วกัน”
.
จะเห็นว่าเราไม่ได้เป็นฝ่ายยอม แต่เราแค่ยื้อเวลาออกไปก่อน ซึ่งตรงนี้มันจะเป็นเรื่องของการใช้ศิลปะและประสบการณ์ซึ่งเป็นสิ่งที่คุณต้องฝึกฝน
.
จะว่าไปแล้วการเจรจาต่อรองมันก็ไม่ได้วัดกันที่ว่าใครพูดมากกว่ากัน เอาเข้าจริงๆ คนที่พูดก่อนนั้นแหละมักจะมีแนวโน้มที่จะเป็นฝ่ายแพ้และต้องยอมมากกว่า เพราะยิ่งพูดมากเท่าไหร่ ก็เหมือนจะยิ่งเผยให้เห็นจุดอ่อนของตัวเองมากขึ้นเท่านั้น สุดท้ายการเจรจาต่อรองมันจะมีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็นผู้คุมเกมเสมอ และการใช้ความเงียบให้เป็นที่แหละจะทำให้เราสามารถเป็นฝ่ายคุมเกมได้ อย่างคำกล่าวที่ว่า “เงียบให้ถูกจังหวะ คนชนะไม่พูดมาก”
.
อย่างไรก็ตาม การเจรจาต่อรองนั้นไม่มีหลักการไหนตายตัวที่สามารถใช้ได้กับทุกสถานการณ์ ถือเป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่ต้องฝึกฝนและใช้ประสบการณ์มากพอสมควร ถึงกระนั้นมันก็เป็นทักษะที่ทุกคนฝึกฝนกันได้ และบอกเลยว่ามันเป็นสิ่งที่คุณจำเป็นต้องมี เพราะถ้าคุณเจรจาไม่เป็นสุดท้ายคุณจะกลายเป็นคนที่เสียเปรียบตลอดไป
.
.
Source : หนังสือ งานประจำสอนทำธุรกิจ
.
ตอนนี้หนังสือเล่มนี้ขาดตลาด ทางเพจสมองไหลไม่มีเหลือแล้ว
.
แต่ทุกคนยังพอสั่งซื้อได้ทางเพจสำนักพิมพ์ เพียงแค่คลิกลิงก์ข้างล่างนี้
.
https://m.me/139971470015828?ref=sale_8wje9NxA
the negotiator 在 Facebook 的最佳貼文
跟大家分享我最近經常使用的 #Himalaya App,這是一個匯集 Podcast、音頻課程、有聲書於一體的 #音頻學習平台。不知不覺間,我已經聽完十堂有聲課了!
文章最後附上台灣最超值的優惠碼「WAKIREAD」,特別加長VIP會員免費體驗到60天的啟用教學。
圖文心得好讀版 https://readingoutpost.com/himalaya-app/
.
【我是怎麼認識 Himalaya App 的?】
.
在2020年11月的時候,我在 Facebook 上面持續推廣自己的 Podcast 說書節目「下一本讀什麼?」,在貼文裡面有一位網友留言提問:「請問這個節目會在 Himalaya App 上架嗎?」那個時候我根本不知道這是什麼東西,我以為節目只要上了 Apple、Spotify、Google的 Podcast 平台應該就大功告成了吧?
後來,我用網路搜尋了這個 App 的相關資訊,才知道原來它也是一個 Podcast 的發布平台,所以立刻就跑去申請帳號、上架自己的節目。有趣的是,我發現這個 App 不只是一個「Podcast 播放器」,上面還有「中英文雙語的有聲音頻課程」、以及許多的「中文有聲書」。
.
【Himalaya App 是什麼?】
.
Himalaya App 是一個中英文音頻學習平台,特色是由世界一流的專家和行業領袖教授音頻課程。通過簡明、深刻的音頻課程,這個平台將通勤和家務時間轉化成寶貴的學習機會,幫助你善用零碎時間吸收知識,在事業以及個人生活方面獲得成長。
.
【Himalaya VIP 有麼特別的?】
.
一般來說,你可以免費使用 Himalaya App,聽聽 Podcast 和一些免費節目。但免費版的會有偶爾出現的廣告干擾,而且無法直接暢聽 App 最精華的部分「世界級大師的音頻課程」和「中文有聲書」。當你成為付費 VIP 會員之後(月繳、年繳)、5000+有聲書和 1000+全球精英的親授課程,就可以無限暢聽。
能夠聽到全球世界級大師的親自授課,是這個 App 最吸引我的地方。不同於我們平常在網路上看到的零散訊息,這些大人物可能在某段訪談說了一些話、在某本書裡又說了一些話,我們要把這些四散的訊息拼湊起來,並不是件容易的事情。因此,當 Himalaya 能夠邀請到他們,請他們針對自己專長的主題,錄製了一系列的音頻課程,這讓我感到非常有興趣。
除此之外,App 裡面還有許多經典暢銷書的中文有聲版,像是《小王子》、《烏合之眾》和《動物農場》,以及一些歷史人文類的書籍和小說。對於喜歡聽中文有聲的聽眾來說,這或許是另一個加分的地方(p.s. 我自己習慣聽的是英文有聲書)。
.
【我決定成為 Himalaya App 付費會員】
.
在瀏覽 Himalaya App 的時候,我看到了好多熟悉的面孔,例如現在話題十足的現代版鋼鐵人伊隆.馬斯克、知名作家與播客提姆.費里斯、行銷專家賽斯.高汀、FBI談判專家克里斯.沃斯、知名記者查爾斯.杜希格、甚至連影集《絕命毒師》的男主角老白布萊恩.克蘭斯頓都有開課。
有這麼多的「大咖」在上面開課,尤其還搭配他們自己的專業領域,讓人光是聽到課名就忍不住想要聽完全部。像是伊隆.馬斯克的課程,談的是「創新」;賽斯.高汀談的是「成長」;克里斯.沃斯談的是「談判」,這些領域的專家濃縮自己的知識成 1~2 小時的精華課程,如果能認真學習和吸收,一定會大有所獲。
所以,我自己在今年一月初的時候,趁著 Himalaya 的新年大特價的時候,購入了會員資格。而且 Himalaya 還提供給第一次用戶 30 天的免費試用期。那時候我就決定給自己一個機會嘗試看看,如果真的用不習慣,大不了再退掉就是。結果我買了不到三週,就馬上聽完了五個最喜歡的課程,這也是我第一次使用音頻課程的經驗。
.
【Podcast 的使用感想】
.
Himalaya App 的主介面「發現」把各種音頻課程和 Podcast 分類之後排列出來,例如常見的商業理財、職場應用、高效工作、人際關係、心靈成長…等。第二個介面「我聽」則記錄了你「關注」(類似追蹤)的頻道,也允許你製作自己的「播單」,用自己喜歡的分類方式收藏節目。
在「搜索」的介面裡,左邊的分類欄是完整的11個類別,你可以進到你喜歡的類別看到最熱門的節目,也可以在最上頭的搜尋欄用文字搜尋。美中不足的地方是,我覺得應該把 Podcast 類別獨立出來,這樣在搜尋的時候會比較容易區別哪些是課程、哪些是 Podcast。App裡面目前沒有針對 Podcast 的排行榜或單獨分類,是我覺得比較可惜的地方。
值得一提的地方是,App 的 Podcast 頁面有兩個不錯的功能。第一個是你可以針對每一集單獨的集數「按讚」和「評論」,你甚至可以「打賞」有開啟贊助選項的節目。第二個是你可以在節目的右上角下拉選單裡「在當前專輯中搜尋聲音」,直接用文字搜尋整個節目,對於有數百數千集的 Podcast 而言,這個功能方便你找到想聽的集數。
.
【世界級大師課程的使用感想】
.
Himalaya App 的音頻課程有一個特色,那就是熱門的講師內容會有「中英雙語版本」。我自己前兩個收聽的課程分別是《一週工作4小時》作者提姆.費里斯的〈Jedi Mind Tricks〉、以及《為什麼我們這樣生活,那樣工作?》查爾斯.杜希格的〈Boost Productivity〉。這兩門課程都有中英雙語,又剛好都是我很喜歡的書籍的作者,能聽他們本人授課讓我感到很新鮮。
另外還有特斯拉和SpaceX的創辦人伊隆.馬斯克跟其他知名講師聯合授課的〈Win Through Innovation〉,聽他談破壞式創新的理念,如何在看似堅不可摧的產業裡帶來革命性的創新。行銷大師賽斯.高汀的〈The Nine Growth Principles〉也讓我學到很多小型企業的經營和成長心法,暢快地聽完之後最感到可惜的地方,就是自己忘了做筆記,改天應該還會重聽一次。FBI談判專家克里斯.沃斯的〈Close Deals Like an FBI Negotiator〉則幫我快速複習了《FBI談判協商術》這本書。
我也發現一些比較不知名、但是含金量滿滿的課程,例如軟體公司 Webinar Ninja 創辦人Omar Zenhom 的線上事業課程〈Start Your First Online Business〉,從商業點子的發想、到創造獨特的產品和服務、再到如何定價和發表,這門音頻課程的鉅細靡遺程度讓我收穫良多。我覺得成為VIP付費會員能享受到的這些音頻課程,背後的價值早已超過我付出的訂閱費。
.
【「60天免費體驗」優惠碼】
.
這篇文章是由 Himalaya 贊助發表,內容是我自費成為VIP付費會員的實際使用心得。Himalaya 主動和我接洽跟討論之後,願意提供給「下一本讀什麼?」和「閱讀前哨站」讀者特別的贊助優惠,這也是目前台灣市面上最高的「60天免費體驗」優惠碼。
你可以透過這個〈瓦基的讀者專屬連結〉前往註冊免費會員,然後在 VIP付款頁面的優惠碼專區輸入「WAKIREAD」,即可延長免費體驗到 60天。這60天內你不會被收取任何費用,若不喜歡可以自由取消,直到60天期滿才會被收費。底下附上圖文教學,邀請你一起享受 Himalaya App 帶來的體驗。
.
Himalaya App 加長VIP會員免費體驗到60天的啟用教學,詳見:
圖文心得好讀版 https://readingoutpost.com/himalaya-app/
the negotiator 在 Tony Jaa Youtube 的最佳貼文
A Copy of Triple Threat: https://amzn.to/2LCWbQQ
Tony Jaa: Upcoming movies 2017 (Paradox and Triple Threat)
A crime syndicate places a hit on a billionaire's daughter, making her the target of an elite assassin squad. A small band of down-and-out mercenaries protects her, fighting tooth and nail to stop the assassins from reaching their target.
Paradox is a 2017 Hong Kong-Chinese action film directed by Wilson Yip, with action direction by Sammo Hung, written by Jill Leung and Nick Cheuk, and stars Louis Koo as a police negotiator
Donation: https://www.paypal.me/TonyJaaa
the negotiator 在 Shiney Youtube 的最讚貼文
www.shineyclub.com
The Surge ไทย
คุยกับ Dr. Gene Barrett เกี่ยวกับโครงการ Utopia และพบปะพูดคุยกับรุ่นพี่ที่อยากได้ค่าแรงโอทีมากไป (OVER TIME PAYMENT) ทำงานหนักเสพกัญชาสุดท้ายผอมเหลือแต่กระดูก
the negotiator 在 王牌對王牌- 維基百科,自由的百科全書 的相關結果
《王牌對王牌》(The Negotiator),直譯為「談判專家」,是由蓋瑞·葛雷導演,山繆·L·傑克森和凱文·斯貝西主演的發生在芝加哥的一部動作懸疑片。上映於1998年7月29日。 ... <看更多>
the negotiator 在 negotiator中文(繁體)翻譯:劍橋詞典 的相關結果
negotiator 的例句. negotiator. Children are not competent or active moral negotiators in this process. 來自Cambridge English Corpus. ... <看更多>
the negotiator 在 The Negotiator (1998) - IMDb 的相關結果
The Negotiator : Directed by F. Gary Gray. With Samuel L. Jackson, Kevin Spacey, David Morse, Ron Rifkin. In a desperate attempt to prove his innocence, ... ... <看更多>