早餐蒸了起司饅頭,母女三人一邊吃一邊聊天,不知是怎麼開頭的,聊到了農民證,再聊到農地與農舍,最後聊到的GDP(國內生產毛額)。結果話題之後的公民課,yoyo班上經濟學內容,老師教導學生GNI(國民所得)與GDP的區別,恰好延續了我們早餐的聊天內容。
切了木瓜做為今天水果,總覺得水果都有自己的個性,每個都散發出獨特的味道,西瓜味、木瓜味、鳳梨味都不一樣。當我這般抒情想法說完後,Doch卻說:「本來就是這樣啊!」
http://zoyo.tw/life-20210603/
#防疫日誌
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過15萬的網紅豐富,也在其Youtube影片中提到,主持人:阮慕驊 來賓:淡江大學財務金融學系副教授 段昌文博士 主題:國發會示警「超額儲蓄飆新高」 節目時間:週一至週五 5:00pm-7:00pm 本集播出日期:2021.03.03 今日圖表連結 https://pse.is/3c97km #財務金融 #段昌文 #超額儲蓄 【財經一路發】專屬Po...
gni gdp 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
กับดักรายได้ปานกลาง ปัญหาใหญ่ ของประเทศกำลังพัฒนา /โดย ลงทุนแมน
Middle Income Trap หรือ กับดักรายได้ปานกลาง
คือปัญหาสำคัญ ที่ทำให้เศรษฐกิจของบางประเทศ พัฒนาแบบก้าวกระโดดต่อไปได้ยากลำบาก
ซึ่งปัญหานี้เอง ที่ทำให้หลายประเทศไม่สามารถก้าวข้ามไปสู่ประเทศรายได้สูงได้เสียที
กับดักรายได้ปานกลาง คืออะไร
แล้วประเทศจะก้าวข้ามกับดักนี้ได้อย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
การจัดอันดับว่าประเทศไหน ถูกจัดอยู่ในรายได้ระดับใด ตามเกณฑ์ล่าสุดของ World Bank จะถูกวัดด้วยรายได้ประชาชาติต่อหัว หรือ GNI per capita
- ถ้ารายได้ประชาชาติต่อหัว น้อยกว่า 32,300 บาทต่อปี
ประเทศนั้นจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศรายได้ต่ำ
- ถ้ารายได้ประชาชาติต่อหัว อยู่ในช่วง 32,300-391,200 บาทต่อปี
ประเทศนั้นจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศรายได้ปานกลาง
- ถ้ารายได้ประชาชาติต่อหัว มากกว่า 391,200 บาทต่อปี
ประเทศนั้นจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศรายได้สูง
ทั้งนี้ ปัจจัยที่ช่วยให้ประเทศหนึ่ง ประสบความสำเร็จในการยกระดับจากประเทศที่มีรายได้น้อยมาสู่กลุ่มประเทศรายได้ปานกลาง อาจเกิดมาจากหลายปัจจัย
ยกตัวอย่างเช่น
- ค่าจ้างแรงงานในประเทศที่ต่ำเมื่อเทียบกับประเทศอื่น จนสามารถดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศได้จำนวนมาก
- การเคลื่อนย้ายแรงงานจากภาคเศรษฐกิจที่มีมูลค่าเพิ่มต่ำ เช่น ภาคเกษตรกรรม ไปสู่ภาคเศรษฐกิจที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น เช่น ภาคการบริการ และภาคอุตสาหกรรมการผลิต
- มีทรัพยากรธรรมชาติที่เอื้อต่อการพัฒนาประเทศ ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรพลังงานสามารถส่งออกจนสร้างรายได้มหาศาล หรือมีสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ จนสร้างมูลค่าจากการท่องเที่ยวได้มาก
อย่างไรก็ตาม ปัจจัยดังกล่าว ที่ส่งให้ประเทศก้าวจากการเป็นประเทศรายได้ต่ำมาเป็นประเทศรายได้ปานกลาง อาจไม่เพียงพอ ที่จะทำให้ประเทศก้าวสู่การเป็นประเทศรายได้สูง..
และในปี 2006 World Bank ก็ได้นิยามปัญหานี้ว่า “Middle Income Trap”
เพื่อให้เข้าใจว่า อะไรบ้างที่เป็นปัจจัยของปัญหา กับดักรายได้ปานกลางนี้
เราลองมาดูตัวอย่างหลายปัจจัย จากหลายประเทศกัน..
ต้นทศวรรษ 1950 ฟิลิปปินส์เป็นประเทศแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่เริ่มพัฒนาภาคอุตสาหกรรมในประเทศ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ และยกระดับฐานะความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศให้สูงขึ้น
แต่มาในวันนี้ รายได้ประชาชาติต่อหัวของฟิลิปปินส์ ยังอยู่ที่ประมาณ 120,500 บาทต่อปี ซึ่งยังถูกจัดอยู่ในประเทศรายได้ระดับปานกลาง
หนึ่งในอุปสรรคที่สำคัญของฟิลิปปินส์ คือการขาดนวัตกรรมที่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า เพราะรัฐบาลของฟิลิปปินส์ให้ความสำคัญน้อย กับเรื่องการวิจัยและพัฒนา (R&D) ของประเทศ
ปี 2018 งบวิจัยและพัฒนาของฟิลิปปินส์ มีสัดส่วนเพียงแค่ 0.14% ของมูลค่า GDP ประเทศ ซึ่งถือว่าต่ำมาก เมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยของโลกที่ 2.3%
ฟิลิปปินส์ยังมีปัญหาการคอร์รัปชันอย่างหนัก
ทำให้นโยบายการพัฒนาประเทศ ไม่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
สถานการณ์นี้ ยังคงพบเห็นที่หลายประเทศในลาตินอเมริกา ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ บราซิล
บราซิล เป็นประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในลาตินอเมริกา และใหญ่เป็นอันดับ 13 ของโลก
ทั้งยังเป็นประเทศที่มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะปริมาณสำรองน้ำมันดิบกว่า 12,999 ล้านบาร์เรล ติดอันดับที่ 20 ของโลก
ปี 1990 มูลค่าเศรษฐกิจของบราซิลเท่ากับ 14.4 ล้านล้านบาท
และเติบโตอย่างรวดเร็วจนสูงถึง 81.1 ล้านล้านบาท ในปี 2011
หรือเติบโตเกือบ 5 เท่า ภายในระยะเวลาเพียง 21 ปี
จนทำให้บราซิล เคยถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว และน่าจับตามองที่สุดประเทศหนึ่ง
แต่นับจากปี 2011 มา มูลค่า GDP ของบราซิล ก็ไม่กลับไปสู่จุดนั้นอีกเลย..
บราซิลยังเป็นประเทศที่เศรษฐกิจพึ่งพาภาคการส่งออก
ซึ่งสินค้าส่วนใหญ่ยังเป็นสินค้าโภคภัณฑ์ ที่ความผันผวนของราคาสินค้าส่งออก มักส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของบราซิล
นอกจากนั้น บราซิลยังประสบปัญหาความไม่มีเสถียรภาพของรัฐบาล และปัญหาการคอร์รัปชัน ซึ่งทำให้ต้นทุนในการทำธุรกิจมีสูง เพราะธุรกิจต้องใช้เส้นสายและจ่ายส่วนแบ่งให้ผู้มีอำนาจ
ซึ่งปัญหาเรื่องความไม่โปร่งใสนี้ ก็ได้กลายเป็นอุปสรรคต่อการดึงดูดเงินลงทุนต่างชาติเข้าไปยังประเทศด้วยเช่นกัน
วันนี้รายได้ประชาชาติต่อหัวของบราซิล อยู่ที่ 284,800 บาทต่อปี ซึ่งยังไม่สามารถก้าวข้ามจากกับดักรายได้ปานกลางไปได้
สำหรับประเทศไทย เราถูกเลื่อนเป็นประเทศที่มีรายได้น้อย มาสู่ประเทศที่มีรายได้ปานกลางตั้งแต่ปี 1976
และจุดเปลี่ยนสำคัญของเศรษฐกิจไทย ก็เกิดขึ้นไม่นานหลังจากนั้น หลังจากเริ่มมีการเข้ามาลงทุนจากต่างประเทศ โดยเฉพาะนักลงทุนจากญี่ปุ่น
เนื่องจากญี่ปุ่นในตอนนั้น ได้รับผลกระทบจากการเข้าทำข้อตกลง Plaza Accord กับสหรัฐอเมริกา โดยการลงนามในข้อตกลงดังกล่าว ส่งผลให้ค่าเงินเยนของญี่ปุ่นแข็งค่าขึ้นอย่างมากและรวดเร็ว
เมื่อเงินแข็งค่าขึ้นจากเดิมมาก ภาคการส่งออกของญี่ปุ่นก็ประสบปัญหา เพราะราคาส่งออกสินค้าแพงขึ้นกว่าเดิมมาก ญี่ปุ่นต้องมองหาฐานการผลิตแห่งใหม่ ที่มีค่าแรงถูกและมีข้อได้เปรียบด้านการส่งออก และแน่นอนว่าประเทศที่ได้อานิสงส์จากตรงนี้ ก็คือ ประเทศไทย
นอกจากเศรษฐกิจไทยจะเติบโตจากการเป็นฐานการผลิตสำคัญแล้ว
ภาคการท่องเที่ยว ก็ก้าวขึ้นมามีบทบาทมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะช่วง 10 ปีที่ผ่านมา
จากการเข้ามาของนักท่องเที่ยวจีนที่เติบโตแบบก้าวกระโดด จากการที่ชนชั้นกลางของจีน มีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และนิยมเดินทางไปท่องเที่ยวต่างประเทศ รวมถึงเดินทางมาไทย
แต่อย่างไรก็ตาม ทั้งหมดนี้ ก็ยังไม่เพียงพอจะทำให้ไทยเราหลุดพ้นกับดักรายได้ปานกลางนี้
เพราะในปี 2019 ประเทศไทย ยังมีรายได้ประชาชาติต่อหัวอยู่ที่ 226,500 บาทต่อปี
ทำให้ไทย ยังคงจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีรายได้ปานกลาง มาเป็นเวลากว่า 45 ปีแล้ว
แล้วประเทศที่สามารถหลุดพ้นกับดักรายได้ปานกลางนี้ เขาทำกันอย่างไร ?
ลองมาดูตัวอย่างใกล้ตัวเรา คือ ไต้หวัน ที่วันนี้มีรายได้ประชาชาติต่อหัวอยู่ประมาณ 830,000 บาทต่อปี อยู่ในกลุ่มประเทศรายได้สูงเรียบร้อยแล้ว
จุดเปลี่ยนที่ทำให้ไต้หวันพัฒนาอย่างก้าวกระโดด คือการที่ภาครัฐส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง เพื่อช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้าของไต้หวัน
ในปี 1973 รัฐบาลไต้หวัน ได้ให้ก่อตั้ง Industrial Technology Research Institute (ITRI)
ซึ่ง ITRI มีการร่วมทุนกับบริษัทฟิลิปส์ของเนเธอร์แลนด์ ทำให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตชิป จนทำให้ ITRI ได้พัฒนากระบวนการผลิตชิปเป็นของตัวเอง
และนำมาสู่การก่อตั้งบริษัทที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของไต้หวัน ในปี 1987
ซึ่งบริษัทนั้นก็คือ Taiwan Semiconductor Manufacturing Company (TSMC) นั่นเอง
ปี 2020 TSMC มีรายได้สูงกว่า 1.5 ล้านล้านบาท ขณะที่กำไรสุทธินั้น สูงกว่า 572,000 ล้านบาท ซึ่งคิดเป็นอัตรากำไรสุทธิสูงกว่า 38% สะท้อนถึงการที่บริษัทสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าได้สูงมาก
ไต้หวันยังมีการทุ่มทุนด้านการวิจัยและพัฒนาอย่างหนัก
โดยงบประมาณ R&D คิดเป็นสัดส่วนสูงถึง 3.3% ของ GDP ในปี 2017
ซึ่งถือว่ามากเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก
การที่ไต้หวันก้าวข้ามจากกับดักรายได้ปานกลางได้
ที่เห็นได้ชัด ก็มาจากการให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนา
โดยเฉพาะกับอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ ที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้ประเทศได้อย่างมหาศาล
ถึงตรงนี้ ถ้าเรามองโดยภาพรวมแล้วจะเห็นว่า กับดักรายได้ปานกลาง ที่หลายประเทศรวมถึงไทยกำลังพบเจอ มีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยด้วยกัน
เช่น การที่ยังเป็นฐานการผลิตและส่งออกสินค้าที่มีมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจไม่สูงมากพอ ยังไม่ค่อยมีนวัตกรรมเป็นของตัวเอง รวมไปถึงปัญหาสำคัญอย่างการคอร์รัปชัน และความไม่มีเสถียรภาพทางด้านการเมือง
และถ้าเราดูตัวอย่าง ประเทศที่สามารถก้าวผ่านกับดักรายได้ปานกลางมาได้ อย่างเช่น ไต้หวัน
ปัจจัยสำคัญคือ การลงทุนในทรัพยากรมนุษย์ เพื่อคิดค้นและพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ จนสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มมหาศาลให้กับสินค้าและบริการของประเทศได้
แน่นอนว่า การที่จะทำแบบนั้นได้ ต้องมีการร่วมมือกันทั้งภาครัฐและภาคเอกชน และอีกหลาย ๆ ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
ซึ่งถ้ามาวางแผนกันดี ๆ แล้วส่งเสริมเรื่องนี้กันให้ถูกจุด
สุดท้ายแล้ว มันก็คงไม่ใช่เรื่องที่เป็นไปไม่ได้
ที่เราจะหลุดพ้น จากกับดักรายได้ปานกลางนี้ไปได้..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/DocLib_/Article_7Nov2017.pdf
-https://en.wikipedia.org/wiki/Middle_income_trap
-https://admuaea.org/2019/03/27/philippine-economy-headed-for-the-middle-income-trap/
-https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_countries_by_proven_oil_reserves
-https://knowledge.ckgsb.edu.cn/2019/05/23/chinese-economy/china-middle-income-trap/
-https://www.globalasia.org/v8no1/focus/taiwans-middle-income-trap-no-escaping-without-services_chen-tain-jy
-https://finance.yahoo.com/quote/TSM/
-https://en.wikipedia.org/wiki/Economy_of_Brazil
-https://data.worldbank.org/indicator/NE.EXP.GNFS.ZS?locations=BR
-https://blogs.worldbank.org/opendata/new-world-bank-country-classifications-income-level-2020-2021
-https://eng.stat.gov.tw/point.asp?index=1
gni gdp 在 政經八百 Facebook 的精選貼文
#政經八百政治標記
〔 #考題中的政治學 #性別平權指標大補帖 〕
▌公民與社會第32題
今年指考公民科第32-34題也是題組,題幹提到某國 GDP 、平均所得和勞動參與率持續提升,而失業率創新低。
但在經濟數據亮眼的同時,該國民間倡議組織也公布兩項統計數據批評政府的施政報告缺乏性別主流化觀點:
❶ 生育率持續下降而女性在婚後退出勞動市場以承擔家庭照顧工作的比例正逐年攀升。
❷ 雙薪家庭夫妻分攤家務勞動時間的比例,有男性下降而女性上升的情形。
32題詢問「數據顯示女性對 GDP 之貢獻程度並未妥當呈現出來,其理由是 GDP在計算時並未包含下列何者?」
正確答案為 (D) 選項:「非市場交易之產出」
這題考的重點是許多經濟指標無法完整反映性別在經濟數據上的差異,也未能將非市場交易之產出(例如家務勞動計算進對經濟的貢獻)。
為了回應這樣的缺失,近年開始出現許多指數提供給我們不同於以往的觀察視野。
於是今天「考題中的政治學」就要帶各位壯士們一窺現在有那些常見的性別平權指數可供我們參考!
▌常見的性別平權指數
為了更加清楚統整世界各國性別平等落實與否的情況和資訊,許多組織都有推出各式各樣的指數來做為性平衡量的參考。
其中較為著名的指標包含以下三個,分別是:
❶ 聯合國開發計畫署(UNDP)的人類發展指數(HDI)
❷ 性別不平等指數(GII)
❸ 世界經濟論壇(WEF)所公布的性別差距指數(GGI)。
▌人類發展指數(HDI)
人類發展指數由聯合國開發計畫署(UNDP)所公布。
推出的緣由是因為UNDP認為經濟指標雖和國家的發展密不可分,但並非是唯一的指標,應該用更全面的標準來衡量。
因此選取了健康(平均餘命)、教育(平均受教育年數、預期受教育年數)及經濟(購買力平價的人均 GNI )三大領域綜合而成人類發展指數。
數值介於 0 至 1 之間,愈趨近於 1 表示社會經濟發展程度愈高。
▌性別不平等指數(GII)
由於 UNDP 認為性別不平等是阻礙人類發展的主因之一,因此在 2010 年公布 GII 來衡量發展成就在兩性之間的分配差異。
和 HDI 指數很大的不同之處在於 GII 計算上排除「所得水準」的考量,因此國家的經濟發展程度未必會與 GII 指數有絕對關聯。
GII 指數由三面向五指標編製而成:
❶ 生殖健康(孕產婦死亡率、未成年生育率)
❷ 賦權(國會議員女性比率、25歲以上受過中等教育以上之人口比率)
❸ 勞動市場參與(15歲以上之勞動力參與率)
數值介於 0 至 1 之間,愈趨近於 0 表示性別愈平等。
▌性別差距指數(GGI)
和前述提到的兩個指數不同,性別差距指數是由世界經濟論壇(WEF)所公布,著重衡量各國兩性在社會資源分配與取得機會之差異程度。
涵蓋四面向:
❶ 經濟參與和機會(勞動力參與率女男比例、薪資公平性、主管階級與專技人員女男比例)
❷ 教育程度(成人識字率女男比例、各級教育在學率女男比例)
❸ 政治賦權(國會議員和部會首長女男比例、總統任職年數女男比例)
❹ 健康與生存(健康平均餘命女男比例、出生嬰兒女男比例)
數值介於 0 至 1 之間,愈接近 1 表示兩性落差愈小。
▌比較
具體舉台灣和鄰近的日本跟韓國比較,三國中人均收入最高的是世界排名17的日本(41340美元)、其次為26名的韓國(30600美元),最後才是台灣(25360美元),位列第30名。
HDI 指數的部分,日本世界第19名0.915、第21名的台灣以0.911超越第23名0.906的韓國。
可以看出來在 HDI 的指標下,雖然整體排名情況與人均 GNI 相似,但因為還加入了健康與教育的指標,因此台灣和日韓兩國的差異並不如人均 GNI 巨大,甚至還能夠超越韓國。
GII 與 GGI 上的則差距更為顯著,由於指標不著重各國的經濟水準,因此台灣在兩項指標均優於日韓。
GII 表現為全球第九,勝過第11名的韓國和24名的日本。GGI 上的差異更是驚人,在台灣以0.746取得第29名時,日韓都在百名開外,尤其日本甚至只位列122名。
由此可見,純然的經濟數據的確如同考題所述,無法完整反映出性別的差異。
▌思考
綜觀各項指標,可以發現經濟發展的程度高低未必和性別平等落實與否的程度完全相同,從台灣和日韓的對比就很明顯可以看出。
不過雖然台灣在性別平等上的表現,就各指標來說比日韓還要來得好,也在世界上名列前茅,不過這並不代表我們已經足夠平等。
根據主計處2016年的統計,台灣女性平均每日花在家務勞動是3.88小時,其配偶或同居男性卻僅為1.13小時。
雖然台灣女性勞動參與率已經超過50%,但因結婚跟生育退出職場的比例依舊居高不下,職場為女性設下的玻璃天花板依然存在,需要我們持續致力於落實平等。
gni gdp 在 豐富 Youtube 的最佳貼文
主持人:阮慕驊
來賓:淡江大學財務金融學系副教授 段昌文博士
主題:國發會示警「超額儲蓄飆新高」
節目時間:週一至週五 5:00pm-7:00pm
本集播出日期:2021.03.03
今日圖表連結 https://pse.is/3c97km
#財務金融 #段昌文 #超額儲蓄
【財經一路發】專屬Podcast:https://www.himalaya.com/98money168
-----
訂閱【豐富】YouTube頻道:https://www.youtube.com/c/豐富
按讚【豐富】FB:https://www.facebook.com/RicherChannel
▍九八新聞台@大台北地區 FM98.1
▍官網:http://www.news98.com.tw
▍粉絲團:https://www.facebook.com/News98
▍線上收聽:https://pse.is/R5W29
▍APP下載
• APP Store:https://news98.page.link/apps
• Google Play:https://news98.page.link/play
▍YouTube頻道:https://www.youtube.com/user/News98radio
▍Podcast
• Himalaya:https://www.himalaya.com/news98channel
• Apple Podcast:https://goo.gl/Y8dd5F
• SoundCloud:https://soundcloud.com/news98
gni gdp 在 What does the GNI/GDP ratio of a country signify about? 的推薦與評價
What does it mean, if the GNI of a country is lower than the GDP. macroeconomics gdp · Share. Share a link to this question. Copy link ... <看更多>
gni gdp 在 GDP GNP GNI - YouTube 的推薦與評價
GDP GNP GNI ... How data is collected to calculate all services and goods. Let's take the example of a barber. How it is calculated that for how ... ... <看更多>