《兒子說想跟我聊聊北韓》
連著好幾晚,躺在我右側的女兒吵著我唸《My Weird School》這套故事書給她聽;兒子則吵著要跟我聊「北韓」話題。
我實在分身乏術,心想如果他跟我談的是德國納粹種族主義(Nazis )(Holocaust),我還可以推薦他先閱讀幾本青少年讀物如《The Diary of Anne Frank》《The Boy in the Striped Pajamas》《Number the Stars 》暫且打發。
怎奈關於「北韓」,我唯獨想到的作品竟只有那部瘋迷主婦圈的韓劇《愛的迫降》。家庭主婦不知北韓人間疾苦,滿腦子想到的只有玄彬與孫藝珍在於北韓那段令人揪心的浪漫戀情👩❤️👨。
等女兒入睡後,我走進兒子的房間,他正拿著Kindle閱讀,
『來吧!我們來聊聊北韓!』我鑽進他被窩。
他先跟我分享了幾部關於北韓的Youtube短片,直呼這國家的存在太不可思議,令他困惑。
其實我更困惑,這議題是如此龐大高深。要先了解人類社會的演進,要牽扯到封建走向資本主義的革命歷程,再進階到社會主義,共產主義。再談點馬克思主義及柏拉圖哲學裡的理想國及烏托邦。
其實我知道的也都只是雞皮蒜毛,隨便胡湊瞎掰,想證明媽媽也是有讀過萬卷書。
兒子聽得一頭霧水一臉茫然,他很難理解我話中的意思,因為我百分之八十都是用中文亂掰。
但要用英文去談馬克思主義,天哪!我甚連這單字都不知道怎麼拼?
只不過是想跟兒子聊個天,竟得先孤身深夜裡寒窗苦讀,除了重頭搞清楚人類社會歷史的來龍去脈外,還得查詢所有重要英文單字。
這母職怎麼會高深莫測到我無法招架😔。
為了加強兒子的深刻思考,我只先在紙上列出的幾個重點單字及問題,再請兒子自己Google找出答案,並與我討論。
🤓這一年來,我跟兒子之間若有難以溝通的問題,不論情感上、想法上、知識上,我都會列出問句,請他紙上答覆。他很喜歡用這樣的方式與我交換想法。
🥺好想念那段親子時光,只需手裡捧著隨便一本繪本,開嗓亂唸,便能把他們逗得笑呵呵,哄得傻楞楞啊!
若您的孩子恰巧對於這主題有興趣的,也可以參考。
---------------------------------------------------------
-
Definition:
Feudalism→ Capitalism → Socialism / Communism / Marxism (Karl Marx and Friedrich Engels)
封建主義→資本主義→社會主義/共產主義/馬克思主義(卡爾.馬克思及弗里德里希·恩格斯)
The Republic by Plato (柏拉圖之理想國)
- What countries have been socialist? (那些國家曾經是社會主義?)
- What countries still have socialism? (現在仍存在社會主義的國家為何?)
- What are the characteristics of a socialism?(社會主義國家主要特色有哪些?)
- Why does Socialism fail ?(為什麼社會主義失敗?)
- We once read the book《The Giver》together. Is there anything that resembles Socialism in this book?(我們曾一起閱讀過《The Giver》這本書,書裏頭有那些類似社會主義的地方?)
- What are the characteristics of capitalism?(資本主義的主要特色為何?)
- Could you tell me the pros and cons of capitalism?(你能告訴我資本主義的優缺點嗎?)
- Do you think American capitalism is good for the 2020s? (你認為資本主義對美國未來的近十年是正向的嗎?)
- How can capitalism be improved?(資本主義該如何改善?)
- Are Nordic countries socialist or capitalist?(北歐五國是社會主義還是資本主義?)
- Could you share me more about North Korea in detail?(你可以更詳盡再分享多些你對於北韓的看法嗎?)
.
.
#青少年安德烈
plato republic 在 sittikorn saksang Facebook 的最佳貼文
เกี่ยวนิติปรัชญา
(ปัญหาความยุติธรรมในสังคมรัฐไทย )
ในส่วนประเด็นความสัมพันธ์ของกฎหมายกับความยุติธรรม
ความยุติธรรมคืออะไร เป็นสิ่งที่นักกฎหมายต้องพิจารณาและให้ความสำคัญอย่างมาก เพราะกฎหมายนั้นตราออกมาใช้บังคับเพื่อความเป็นธรรมในสังคม ความยุติธรรมนี้จะเอาอะไรมาเป็นปทัสถานของความยุติธรรมว่าพอดี หรือเพียงพอแล้ว เพราะเวลาพูดถึงความยุติธรรมถ้าใช้สามัญสำนึกของตัวเองเป็นหลักบางเรื่องก็อาจจะเห็นว่าไม่เป็นธรรม แต่ถ้าเอาสังคมส่วนรวมเป็นที่ตั้งก็อาจเป็นธรรม เช่น กรณีออกกฎหมายเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยหรือเพื่อประโยชน์ของสาธารณะ หากใช้บังคับแก่คนทั่วไปโดยไม่เลือกใช้เฉพาะกับกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งแล้ว เช่นนี้ก็ย่อมถือว่ากฎหมายนั้นยุติธรรมแล้ว
โดยทั่วไป ความยุติธรรมเป็นบางสิ่งบางอย่างที่ “รู้สึก” ได้ หรือรับรู้ได้โดย “สัญชาตญาณ” แต่ก็ยากที่จะอธิบาย หรือให้นิยามความหมายของสิ่งที่รู้สึกได้ดังกล่าวอย่างเป็นรูปธรรม
ความหมายของคำว่า “ความยุติธรรม” มีความหลากหลาย รายละเอียดต่างๆอาจศึกษาหาอ่านได้โดยตรงในวิชานิติปรัชญา ในที่นี้จะเพียงยกคำจำกัดความของนักกฎหมายหรือนักปราชญ์เพียงบางท่าน เช่น
เดวิด ฮูม (David Hume) อธิบายไว้ว่า ความยุติธรรมเป็นคุณธรรมอย่างหนึ่งที่มิได้ปรากฏขึ้นเองโดยธรรมชาติ แต่เป็นคุณธรรมที่เกิดจากการคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ (Artificial Virtue)
เพลโต (Plato : 427 – 347 B.C.) ปรัชญาเมธีชาวกรีกในงานเขียนเรื่อง “อุดมรัฐ” (The Republic) ได้ให้คำนิยามความยุติธรรมว่า หมายถึง การทำความดี (Doing well is Justice) หรือการทำสิ่งที่ถูกต้อง (Right Conduct)
อริสโตเติล (Aristotle) มองว่าความยุติธรรม คือ คุณธรรมทางสังคม (Social Virtue) ประการหนึ่งซึ่งเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และคุณธรรมเรื่องความยุติธรรมนี้จะใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อเมื่อ มนุษย์ได้ปลดปล่อยตัวเขาเองจากแรงผลักดันของความเห็นแก่ตัวอย่างยิ่ง
อริสโตเติล แบ่งความยุติธรรมออกเป็น 2 ประเภท คือ
1 ความยุติธรรมโดยธรรมชาติ (Natural Justice) หมายถึง หลักความยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นสากล ไม่เปลี่ยนแปลง ใช้ได้ต่อมนุษย์ทุกคน ไม่มีขอบเขตจำกัด และอาจค้นพบได้โดย “เหตุผลบริสุทธิ์” ของมนุษย์
2 ความยุติธรรมตามแบบแผน (Conventional Justice) หมายถึง ความยุติธรรมซึ่งเป็นไปตามตัวบทกฎหมายของบ้านเมือง หรือธรรมนิยมปฏิบัติของแต่ละสังคมหรือชุมชน ความยุติธรรมลักษณะนี้ อาจเข้าใจแตกต่างกันตามสถานที่และอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามกาลเวลาหรือตามความเหมาะสม
กฎหมายกับความยุติธรรมนั้นย่อมมีความสัมพันธ์กัน ดังที่พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ในพิธีพระราชทานประกาศนียบัตรแก่ผู้สอบไล่ได้วิชาความรู้ชั้นเนติบัณฑิต สมัยที่ 33 ปีการศึกษา 2523 ณ อาคารใหม่สวนอัมพร 24 ตุลาคม 2524 ตอนหนึ่งว่า “ตัวกฎหมายก็ไม่ใช่ความยุติธรรมเป็นแต่เพียงเครื่องมือที่ใช้ในการประสิทธิ์ประสาทความยุติธรรมเท่านั้น ดังนั้นนักกฎหมายในการใช้กฎหมายจึงต้องมุ่งหมายใช้เพื่อรักษาและอำนวยความยุติธรรม และการรักษาความยุติธรรมในแผ่นดินก็มิได้มีวงแคบอยู่เพียงแค่ขอบเขตของกฎหมาย หากต้องขยายออกไปให้ถึงศีลธรรมจรรยา ตลอดจนเหตุและผลตามเป็นจริงด้วย”
นอกจากนั้น ลอร์ดเดนนิ่ง (Loard Denning) และจอห์น รอลส์ (John Rawls) อธิบายความหมายของความยุติธรรมว่าคือสิ่งที่ผู้มีเหตุมีผล และมีความรับผิดชอบในสังคม ถือว่าเป็นสิ่งที่ชอบธรรมและบุคคลที่มีเหตุผลนั้นต้อง “เป็นคนกลาง” ไม่มีส่วนได้เสียในเรื่องที่วินิจฉัย โดยความเห็นของ Lord Brown – Willkinson ในคดีปิโนเช่ต์ ได้นำคำพิพากษาของลอร์ด เฮวาร์ด มาอ้างด้วยว่า “เป็นความสำคัญขั้นพื้นฐานที่ว่าไม่เพียงแต่จะทำให้เกิดความยุติธรรมเท่านั้น แต่ต้องทำให้คนเห็นปรากฏชัดเจนและปราศจากข้อสงสัยใดๆว่า มีความยุติธรรมเกิดขึ้นจริง” ในคำพิพากษานั้น
plato republic 在 On8 Channel - 岸仔 頻道 Facebook 的最佳解答
岸伯政治哲學課 – 第二集 柏拉圖(Plato)
主持:王岸然、無妄、大衛丸
摘要:Plato名字的由來、男女平等之觀念、相信輪迴、荷馬史詩的教育、Academy(學院)名字的由來、Republic(理想國)、洞穴的故事、測不準定理、ideology /concept(理念/理形/形式/樣式)、理想國的意思、三級制的政治制度(哲人王||惠國者||人民)、建存的教育制度、斯巴達式的教育、強調規則與法律的重要性、首兩個階級行男女平權及共產制度、柏拉圖性愛、理想國與高達(Gundam)、晚年的轉向、靜止(Static)vs運動(Dynamic)的世界
插曲第一首: Ode to Aphrodite
插曲第二首: Paean
http://www.myaudiocast.com/on8channel/
plato republic 在 Plato: Republic I - 博客來 的相關結果
書名:Plato: Republic I,語言:英文,ISBN:9781853992544,頁數:144,作者:Allan, Donald James (EDT),出版日期:2013/04/01,類別:人文社科. ... <看更多>
plato republic 在 Plato: The Republic | Internet Encyclopedia of Philosophy 的相關結果
Since the mid-nineteenth century, the Republic has been Plato's most famous and widely read dialogue. As in most other Platonic dialogues the main character is ... ... <看更多>
plato republic 在 Republic (Plato) - Wikipedia 的相關結果
The Republic is a Socratic dialogue, authored by Plato around 375 BC, concerning justice (δικαιοσύνη), the order and character of the just city-state, ... ... <看更多>