(สรุปจากรายงานข่าว) วันนี้ 20 สิงหาคม 2564 เป็นวันที่ประเทศไทยมีรายงาน "ตัวเลขอย่างเป็นทางการ" ของผู้ติดเชื้อโควิดสะสมเกิน 1 ล้านราย (ตัวเลขจริงอาจมากกว่านี้ เพราะไม่ได้รวมยอดจากชุดตรวจ ATK และมีคนที่เข้าไม่ถึงการตรวจอีกเยอะ)
ที่ ศบค. ยังไม่ประสบความสำเร็จในการควบคุมโรคให้ไม่ลุกลามมากมายขนาดนี้ เกิดจากความล่าช้า 4 เรื่อง คือ 1. ชุดตรวจหาเชื้อด้วยตัวเอง 2. การแยกกักตัวที่บ้าน 3. การล็อกดาวน์ และ 4. วัคซีน
#ชุดตรวจหาเชื้อด้วยตัวเอง
- แต่แรก ก. สาธารณสุข ให้ตรวจหาเชื้อด้วยวิธี RT-PCR เท่านั้น ซึ่งทำได้จำกัด ทำให้ผู้ติดเชื้อหลายคนเข้าไม่ถึงการตรวจ เมื่อตรวจน้อย ก็เจอผู้ติดเชื้อน้อย ส่งผลให้ควบคุมการระบาดได้ลำบาก
- พึ่งอนุมัติให้ใช้ชุดตรวจหาเชื้อด้วยตัวเอง (Antigen Test Kit: ATK) เมื่อเดือนกรกฎาคม ซึ่งช้าไปกว่า 3 เดือนหลังเริ่มการระบาดใหญ่ และยังมีปัญหาการจัดซื้อชุดตรวจ ATK 8.5 ล้านชุดอยู่
#การแยกกักตัวที่บ้าน
- เตียงในโรงพยาบาล/ รพ. สนามไม่เพียงพอ แถมกำหนดให้ รพ. ที่ตรวจพบผู้ติดเชื้อต้องรับไว้รักษาทุกราย รพ. จึงปิดรับตรวจ สถานการณ์การระบาดก็ย่ำแย่ลงจากมีผู้ติดเชื้อตกค้างในชุมชน
- จนเดือน ก.ค. ที่ยอมให้ทำการแยกกักตัวที่บ้าน (Home isolation) และยกเลิกข้อกำหนดให้แอดมิตผู้ป่วยทุกรายที่ตรวจพบเชื้อ
- จากนั้น ได้เริ่มจ่ายยาฟาวิพิราเวียร์แม้อาการจะไม่รุนแรง เพื่อป้องกันภาวะปอดอักเสบ และเพิ่งออกหนังสือเมื่อเดือนสิงหาคม ว่าสามารถจ่ายยานี้ได้ ในผู้ติดเชื้อที่ตรวจเจอด้วยชุดตรวจ ATK
#การล็อกดาวน์
- จากการล็อกดาวน์แบบ ‘อยู่บ้าน หยุดเชื้อเพื่อชาติ’ เมื่อปีก่อน มาปีนี้ ศบค. เปลี่ยนเป็นการออกจากบ้านเท่าที่จำเป็น ทำงานที่บ้าน ห้ามรวมตัว ปิดสถานที่เสี่ยง และประกาศเคอร์ฟิว
- ศบค. เพิ่งเริ่มใช้ล็อกดาวน์จริงจัง ในวันที่ 21 ก.ค พบว่าประชาชนมีการเดินทางลดลงและน่าจะลดการแพร่เชื้อระหว่างครอบครัว
- แต่ขณะเดียวกัน ก็อาจเพิ่มการแพร่เชื้อ ‘ภายในครอบครัว’ สู่กลุ่มผู้สูงอายุได้ และควรตรวจหาเชื้อด้วย ATK เพิ่ม เพื่อแยกผู้ติดเชื้อในครัวเรือน
#วัคซีน
- คงไม่มีใครปฏิเสธความล่าช้าของการจัดหาวัคซีนในประเทศไทย แม้แต่ผู้อำนวยการสถาบันวัคซีนแห่งชาติก็ได้ออกมายอมรับ
- มีความล่าช้าในการส่งมอบ และปริมาณส่งมอบ ก็น้อยกว่ายอดจอง
- ยังมีปัญหาในการ ‘กระจาย’ ให้กับกลุ่มเสี่ยงต่ออาการรุนแรงด้วย โดยผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ได้รับวัคซีนเข็มที่ 1 แล้วแค่ประมาณ 4 ล้านคน (30%) และผู้มีโรคประจำตัว 7 กลุ่มโรค ประมาณ 2 ล้านคน (40%)
「การแยกกักตัวที่บ้าน」的推薦目錄:
- 關於การแยกกักตัวที่บ้าน 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最佳貼文
- 關於การแยกกักตัวที่บ้าน 在 Drama-addict Facebook 的最讚貼文
- 關於การแยกกักตัวที่บ้าน 在 Drama-addict Facebook 的精選貼文
- 關於การแยกกักตัวที่บ้าน 在 กรมการแพทย์ - Home isolation(การแยกกักตัวที่บ้าน)... 的評價
- 關於การแยกกักตัวที่บ้าน 在 Home Isolation (การแยกกักตัวที่บ้าน) - กลุ่ม ปตท. จังหวัดระยอง 的評價
การแยกกักตัวที่บ้าน 在 Drama-addict Facebook 的最讚貼文
สวัสดีค่ะคุณจ่า ทางทีมของ สสส ขอรบกวนช่วยประชาสัมพันธ์ คลิปใหม่ล่าสุด เกี่ยวกับ Home Isolation แบบ Animation เข้าใจง่าย มาให้ทางประชาชนได้เป็นความรู้กันค่ะ
📍ถ้าวันนี้คุณติดเชื้อ..
‘บ้าน’ คือที่ที่จะรักษาคุณ
Home isolation หรือการแยกกักตัวที่บ้านเป็นยังไง ? มาดูคลิปนี้ให้หายสงสัยกัน (EP.1)
ทำไมต้อง แยกกักตัว?
เมื่อตรวจพบว่าติดเชื้อทำยังไงต่อ?
แยกกักตัวจะได้รับการดูแลยังไง ?
.
ใครควร ใครไม่ควร
แยกกักตัวที่บ้าน ?
รวมเบอร์โทรและช่องทางติดต่อ
1668 : สายด่วนกรมการแพทย์
1330 กด 14 : สายด่วน สปสช.
1506 กด 6 : สายด่วนสิทธิประกันสังคม
…..
ทีมครีเอทีฟ : ชูใจกะกัลยาณมิตร แอนด์เฟรนด์ และแก๊ป ธนเวทย์
.
ทีมภาพประกอบและแอนนิเมชั่น : Horriziny และ Uido
.
#การแยกกักตัวที่บ้าน #HomeIsolation #สสส
การแยกกักตัวที่บ้าน 在 Drama-addict Facebook 的精選貼文
ทีมงาน สสส ฝากมาครับ
คุณจ่าคะอันนี้ท่าทีมฝากมาให้คุณจ่าช่วยประชาสัมพันธ์ ทาง สสส ได้มีการทำคู่มือการทำ home isolation ค่ะ
คู่มือการแยกกักตัวที่บ้าน (Home isolation) ที่คุณหมอหลายท่านช่วยกันรวบรวมข้อมูลสำคัญ เพื่อให้ใครก็ตามที่กำลังมองหาทางเลือกในการดูแลรักษาผู้ป่วยโควิดในสถานการณ์นี้
คลิก ดาวน์โหลด คู่มือ การแยกกักตัวที่บ้าน (Home Isolation) ได้ที่ >> http://ssss.network/rnzwu
การแยกกักตัวที่บ้าน 在 Home Isolation (การแยกกักตัวที่บ้าน) - กลุ่ม ปตท. จังหวัดระยอง 的推薦與評價
จากการแถลงเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคมที่ผ่านมาโดยกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้มีการนำเสนอแนวทางเรื่อง Home Isolation หรือการแยกกักตัวที่บ้าน ... ... <看更多>
การแยกกักตัวที่บ้าน 在 กรมการแพทย์ - Home isolation(การแยกกักตัวที่บ้าน)... 的推薦與評價
Home isolation(การแยกกักตัวที่บ้าน) เป็นแนวทางสำหรับ ผู้ป่วยโควิด-19 ที่ 1. ระหว่างรอ admit โรงพยาบาล 2. แพทย์พิจารณาว่ารักษาที่บ้านได้ ... <看更多>