【追求百分之百的言論自由】
大家好,今天過得好嗎?
你知道嗎?今天(4/7)是 #言論自由日,是屬於台灣的特別日子。
「言論自由日」是為了紀念「自由時代週刊」創辦人鄭南榕。正因為有先人前仆後繼的犧牲抗爭、烈士義無反顧的奮鬥,#民主 和 #言論自由 才能昇華為一般民眾的日常。
今日的台灣,獲得 #自由之家 #2021年全球自由度調查報告 評比自由度 #亞洲第2;目前派駐在台灣的國際媒體,從去年1月至今年3月底為止新增21家,共39名首次來台駐點的國際媒體記者,包括美國 #紐約時報、#華盛頓郵報、#華爾街日報、#BBC 等國際重要媒體,儼然成為 #自由民主燈塔。
但是,就在我們不遠的地方,仍有言論自由受到法令的箝制、人身自由受到禁錮,迫害少數民族甚至還是進行式,我們深深的瞭解,言論自由得來不易,也熱切盼望與 #理念相近國家,一同努力,將言論自由這樣的基本人權與普世價值和世界友人共享。
今天,值得我們紀念;言論自由,則屬於所有人擁有。
.
.
.
As well as being #WorldHealthDay, in #Taiwan April 7 is #FreedomOfExpressionDay, commemorating the contributions of #NylonDeng and the Freedom Era Weekly magazine, which he kept open despite pressure from the authoritarian government of the time. His tragic story, however, could not be more relevant today, with the curtailing of whistle-blower doctors’ #FreedomOfSpeech with regard to the COVID-19 outbreak that led to the pandemic spiraling out of control.
#Taiwan has come a long way since the authoritarian era, ranking as the second freest country in Asia in the recently published Freedom in the World 2021 report by Freedom House and with international media outlets, including The New York Times, Washington Post, The Wall Street Journal and the BBC posting correspondents here. If the pandemic has taught us anything, it is that government #transparency and #democracy are as important in containing its spread as PPE and social distancing. We will continue to work with like-minded partners around the world to forward civil liberties and #FreedomOfExpression to counter the expansion of authoritarianism.
journal ranking 在 ลงทุนแมน Facebook 的精選貼文
รู้จัก EY หนึ่งใน Big 4 ผู้ตรวจสอบบัญชีโลก / โดย ลงทุนแมน
“EY” หนึ่งในสี่บริษัทตรวจสอบบัญชีรายใหญ่ของโลก
ที่เราเรียกกันสั้นๆ ว่า “Big 4”
รู้ไหมว่า กว่าจะมาเป็นบริษัทผู้ตรวจสอบบัญชีที่มีชื่อเสียงอย่างทุกวันนี้
EY มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมาเป็นร้อยปี
จุดเริ่มต้นและความเป็นมาของผู้ตรวจสอบบัญชีรายนี้เป็นอย่างไร
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
อัปเดตสถานการณ์และภาวะเศรษฐกิจกับ Blockdit
มีพอดแคสต์ให้ฟังระหว่างเดินทางด้วย
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ย้อนกลับไปในช่วงกลางศตวรรษที่ 19 (ประมาณปี ค.ศ. 1840-1850)
เป็นช่วงเวลาที่อุตสาหกรรมในประเทศอังกฤษกำลังเฟื่องฟู
จากการปฏิวัติอุตสาหกรรมตั้งแต่ช่วงปี ค.ศ. 1780
บริษัทใหญ่ในประเทศอังกฤษถือกำเนิดขึ้นมากมาย
ซึ่งบริษัทเหล่านั้นต้องการนักบัญชี และที่ปรึกษาทางด้านการเงิน
เพื่อมาตรวจสอบการทำบัญชี และให้คำปรึกษาในการทำธุรกิจ
ในปี ค.ศ. 1849 จุดเริ่มต้นของ EY ถือกำเนิดขึ้น..
นักบัญชีกลุ่มหนึ่งก่อตั้งบริษัทชื่อว่า Harding & Pullein ขึ้นในประเทศอังกฤษ
ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น Whinney Smith & Whinney
ตามชื่อของ Frederick Whinney นักบัญชีที่มีชื่อเสียงของบริษัท
หลังจากนั้นไม่นาน ประเทศในยุโรปอื่นๆ และสหรัฐอเมริกาก็มีการปฏิวัติอุตสาหกรรมตามประเทศอังกฤษ
ทำให้ในสหรัฐฯ ต้องการนักบัญชี และที่ปรึกษาในการทำธุรกิจมากขึ้นเช่นกัน
ในปี ค.ศ. 1903 Alwin และ Theodore พี่น้องนักบัญชีตระกูล Ernst
ร่วมกันก่อตั้งบริษัทตรวจสอบบัญชีชื่อว่า Ernst & Ernst ในเมืองคลีฟแลนด์ รัฐโอไฮโอ ประเทศสหรัฐอเมริกา
ซึ่งภายหลัง Ernst & Ernst ก็ไปควบรวมกับ Whinney Smith & Whinney บริษัทตรวจสอบบัญชีมากประสบการณ์จากฝั่งอังกฤษ แล้วเปลี่ยนชื่อเป็น Ernst & Whinney
ช่วงเวลาไล่เลี่ยกัน ในปี ค.ศ. 1906
Arthur Young ชาวสกอตแลนด์ ก็ได้ตั้งสำนักงานตรวจสอบบัญชีชื่อ Arthur Young & Co. ในเมืองชิคาโก รัฐอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา
ทั้ง Ernst & Whinney และ Arthur Young & Co.
ต่างก็เป็นบริษัทตรวจสอบบัญชีที่โด่งดังและมีชื่อเสียง
และเป็นบริษัทตรวจสอบบัญชีที่ใหญ่เป็นอันดับ 4 และ 5 ของโลกในช่วงปลายทศวรรษ 1980
ในที่สุด ในปี ค.ศ. 1989
Ernst & Whinney และ Arthur Young & Co. ก็รวมเป็นบริษัทเดียวกัน
แล้วตั้งชื่อใหม่ว่า “Ernst & Young” หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า EY ในทุกวันนี้
EY ได้ประโยชน์จากการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจทั่วโลก
ทำให้ความต้องการนักตรวจสอบบัญชีและที่ปรึกษาทางธุรกิจเพิ่มขึ้นทั่วโลกเช่นกัน
ดังนั้นบริษัทตรวจสอบบัญชีที่มีชื่อเสียงรวมถึง EY ต่างพากันขยายสำนักงานไปทั่วโลก และเติบโตมาจนถึงทุกวันนี้
ปัจจุบัน EY คือหนึ่งใน Big 4
หรือบริษัทตรวจสอบบัญชีที่ใหญ่สุด 4 รายแรกของโลก
โดยมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ
และมีพนักงานทั่วโลก กว่า 280,000 คน
เมื่อเทียบรายได้ปี 2019 กับบริษัทตรวจสอบบัญชียักษ์ใหญ่อีกสามแห่ง
Deloitte รายได้ 1.43 ล้านล้านบาท
PricewaterhouseCoopers (PwC) รายได้ 1.31 ล้านล้านบาท
Ernst & Young (EY) รายได้ 1.12 ล้านล้านบาท
KPMG รายได้ 0.92 ล้านล้านบาท
โดยที่รายได้ทุก 100 บาท ของ EY มาจาก
บริการให้ความเชื่อมั่นและตรวจสอบความถูกต้อง 35 บาท
การให้คำปรึกษาทางธุรกิจ 28 บาท
การวางแผนภาษี 26 บาท
การให้คำปรึกษาอื่นๆ 11 บาท
หลายคนอาจจะสงสัยว่า EY มีใครเป็นลูกค้าบ้าง
ลงทุนแมนลองเปิดดูรายงานประจำปีของหลายบริษัทก็พบว่า
Apple, Facebook, Amazon, McDonald’s ใช้บริการตรวจสอบบัญชีของ EY
ส่วนลูกค้าของ EY ในประเทศไทยที่เป็นบริษัทใหญ่ๆ ก็มีมากมาย
เช่น โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์, โฮมโปร, บีทีเอส กรุ๊ป, ดีแทค
โดยรายได้จากการตรวจสอบบัญชีของ EY ในประเทศไทย ในปี 2019
บริษัท สำนักงาน อีวาย จำกัด
รายได้ 2,179 ล้านบาท
กำไรสุทธิ 250 ล้านบาท
และทั้งหมดนี้ ก็คือเรื่องราวของ EY
บริษัทตรวจสอบบัญชีที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน
ซึ่งน่าจะทำให้หลายคนหายสงสัยว่า
EY ย่อมาจากอะไร..
╔═══════════╗
อัปเดตสถานการณ์และภาวะเศรษฐกิจกับ Blockdit
มีพอดแคสต์ให้ฟังระหว่างเดินทางด้วย
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-https://www.ey.com/cn/en/about-us/our-people-and-culture/our-history
-https://www.ey.com/en_gl/news/2019/09/ey-reports-record-global-revenues-of-us-36-4b-in-2019
-https://www.accountingin.com/accounting-historians-journal/volume-11-number-2/accountancy-and-the-british-economy-the-evolution-of-ernst-whinney-1840-1980/
-https://big4accountingfirms.com/big-4-accounting-firms-ranking/
-https://en.wikipedia.org/wiki/Ernst_%26_Young
-เว็บไซต์กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
-Apple, Inc, Facebook, Inc, Amazon.com, Inc, McDonald’s Corporation Annual Report 2019.
-รายงานประจำปี 2019 โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ จำกัด (มหาชน), บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน), บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน), บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน จำกัด (มหาชน)
journal ranking 在 新思惟國際 Facebook 的最佳解答
林奕瑱藥師的論文,刊登在 Journal of the American College of Cardiology(JACC)是美國心臟病學會(American College of Cardiology)的官方期刊,在 2017 年的 impact factor 為 16.834,是 Cardiac & Cardiovascular Systems 領域的頂尖期刊(ranking:3/128)。
⚠ 先寫在前面:
➠ 6 / 13(六)醫學論文與寫作工作坊
➠ 【僅剩 2 席】課程符合需求,就別再猶豫囉~
➠ https://mepa2014.innovarad.tw/event/
以下為林藥師的研究心路歷程:
🎯 決定現況的是三、五年前的選擇
我是個看似乖巧,但總會有些莫名堅持的人。在美國接受過完整藥學教育與臨床藥師訓練後,毅然決然回到台灣醫院服務(當時很多人勸阻我)。
在台灣,臨床藥師這個職業角色是有重重阻礙的。除了因人力結構不穩定而常常需要放下自己的臨床工作去支援別人,如何在臨床團隊發揮專業、取得醫師信任、甚至參與研究,需要下很大的功夫。
🎯 新思惟給我的最大收穫,是身為研究者該有的心態!
我曾在美國求學與執業,因此英文寫作對我來說不是問題。但是如何寫出一篇會被期刊接受的論文,卻不得其道。因此我報名新思惟的《#醫學論文與寫作工作坊》。
課堂上,前輩們除了解構每個段落應具備的內容外,對於文字、圖表的細緻處理更是令我驚訝!此外,講師們也無私傳授回覆 reviewer 的應對之道。
在新思惟課程中,除了學習到方法外,蔡校長還分享了他的研究生涯與時間規劃。從他的經驗分享中,我才驚覺原來我的努力還不夠,也由衷敬佩這些研究者的態度!
🎯 持續努力,讓臨床藥師的價值被看見!
上完課後的這兩年,每天持續在臨床、教學、研究、支援別人,以及藥局裡許許多多的雜事中奮戰。在對的時間點找到好題目,和對的人合作並擁有足夠的資源,並找到欣賞你的編輯與讀者。身為研究界菜鳥,我深刻體認到這一切真的不容易。
然後,這一切還要與時間賽跑!我深切地感受到自己的不足,卻也了解到自己是多麼幸運。我要感謝一路上指導我的醫師、統計老師、藥師、以及其他幫助過我的人。希望在這個過程中,可以讓別人看到臨床藥師的價值。
🎯 作為研究新手, 《#醫學論文與寫作工作坊》協助您......
√ 投稿期刊選擇策略。
√ 多元文體與學術參與。
√ 入門稿件寫作與準備要訣。
√ 不再害怕統計,讓你親手畫出數據圖。
√ 還是寫不出來?過來人時間安排建議。
眾多校友從 0 到 1 突破困境,校友們平均每月 40 篇論文發表,最高單月 55 篇!2020 許自己一個有論文的未來,年初投資自己,年底 PubMed 有你!
🎯 一天弄懂「寫論文」、「統計」及「投稿」。
➠ 【僅剩 2 席】6 / 13(六)醫學論文與寫作工作坊
➠ https://mepa2014.innovarad.tw/event/
journal ranking 在 Impact Factor: Journal Ranking Tools - YouTube 的推薦與評價
... <看更多>