🏃♀️💨 5 อาการสุดฮิต ที่สายวิ่งมักเจอ
--
1️⃣ .Anterior Knee Pain ปวดเข่าด้านหน้า
ส่วนใหญ่มักเกิดจากกล้ามเนื้อรอบข้อเข่าตึงมากเกินไป แล้วทำให้ผิวกระดูกสะบ้า เสียดสีกับกระดูกต้นขามากขึ้น จึงเกิดอาการปวดได้
วิธีป้องกันและลดอาการเจ็บเบื้องต้น
> ควรยืดกล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้า (Quadriceps) และ กล้ามเนื้องอสะโพก (Hip Flexor) อย่างสม่ำเสมอ เพื่อลดอาการตึง และแรงกดของผิวกระดูกสะบ้าและกระดูกต้นขา
2️⃣ IT Band syndrome เจ็บเข่าด้านข้าง
เกิดจากการใช้งานกล้ามเนื้อสะโพกด้านข้าง (Tensor Fascia Latae) จนเกิดความตึงสะสม ทำให้แผ่นเนื้อเยื่อต้นขาด้านข้างตึงมากขึ้น เมื่อเกิดการเคลื่อนไหวซ้ำ จึงเกิดอาการเจ็บที่เข่าด้านข้างได้
วิธีป้องกันและลดอาการเจ็บเบื้องต้น
> ยืดกล้ามเนื้อสะโพกอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะสะโพกด้านข้าง ที่มักจะตึง
>ฝึกความแข็งแรงของก้นด้านข้างเพิ่ม (Gluteus Medius) เพื่อช่วยเพิ่มความมั่นคงของข้อสะโพกและข้อเข่า
3️⃣ Plantar Fasciitis เอ็นฝ่าเท้าอักเสบ
เกิดจากกล้ามเนื้อน่องร่วมกับเอ็นใต้ฝ่าเท้าตึง เมื่อเกิดการเคลื่อนไหวซ้ำในขณะที่ตึง จึงทำให้เกิดแรงกระชากของเอ็นใต้ฝ่าเท้าซ้ำๆ จนเกิดอาการบาดเจ็บเรื้อรังได้
วิธีป้องกันและลดอาการเจ็บเบื้องต้น
> ควรยืดกล้ามเนื้อน่อง(Gastrosoleus) อย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะหลังวิ่งเพราะจะมีความตึงสะสมมาก
> ฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อน่องในมุมที่ถูกยืดยาวออก เช่น ท่า Eccentric Calf Raise
4️⃣ Shin Splint อาการเจ็บหน้าแข้ง
เกิดจากการใช้งานซ้ำ(Overuse) ของกล้ามเนื้อมัดเล็กบริเวณแข้ง จนเกิดการตึงสะสม เมื่อกล้ามเนื้อส่วนนี้ตึง จะทำให้เกิดการเบียดของโครงสร้างภายใน แล้วไปเบียดเส้นประสาท ทำให้มีอาการปวด และร้าวที่แข้งหรือน่องได้
วิธีป้องกันและลดอาการเจ็บเบื้องต้น
> ควรยืดกล้ามเนื้อหน้าแข้ง (Tibialis anterior , Peroneus) โดยเฉพาะหลังวิ่ง
> ควรยืดกล้ามเนื้อน่อง(Gastrosoleus) อย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะหลังวิ่งเพราะจะมีความตึงสะสมมาก
> ฝึกความแข็งแรงของกล้ามเนื้อน่องในมุมที่ถูกยืดยาวออก. เช่น ท่า Eccentric Calf Raise
5️⃣ Back Pain ปวดหลัง
มักเกิดในคนที่มีสรีระหลังแอ่นร่วมด้วย หรือมีกล้ามเนื้อแกนกลางที่ไม่แข็งแรง ทำให้ขณะวิ่ง กล้ามเนื้อบริเวณหลังทำงานหนัก กล้ามเนื้อเกร็ง และอาจเกิดกล้ามเนื้อหลังอักเสบได้
> ยืดกล้ามเนื้อก้น (Gluteus) ต้นขาด้านหลัง (Hamstring) น่อง (Gastrosoleus) อย่างสม่ำเสมอ
> ปรับสรีระ ไม่ให้อยู่ในท่าหลังแอ่น ด้วยการยืดกล้ามเนื้องอสะโพก (Hip Flexor) และเสริม ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อก้น(Gluteus) และหน้าท้อง (Rectus Abdominis)
เขียนโดย 👩⚕️ กภ. ณัฐกาญจน์ โกมารทัต
-----
สอบถามข้อมูลคอร์สเรียนอื่นๆ เพิ่มเติม
☎️ โทร. 099-613-4502
💬 Line: @fitjunctions หรือ https://lin.ee/fW4S6Lc
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過5,220的網紅Mark Sir 教室,也在其Youtube影片中提到,【告別粗壯小腿甲組腳】 新一集 《#與區議員一齊運動》, 我們會與 觀塘區議員 ‧ 梁翊婷 Edith Leung 一齊瘦小腿 承接上集,由於同樣沒有定點減肥 (Spot Reduction) 這回事,首先要做的仍然是體重管理,其次是飲食上需要減鹽減糖,避免下身水腫 這裡補充一點:跑步,特別是...
tibialis raise 在 阿舟物理治療小教室-疼痛處理與動作優化 Facebook 的最佳解答
【Calf Raise】
如果你想改善扁平足、足底筋膜炎
或是膝蓋疼痛的話,那麼Calf Raise
是你絕對不能錯過的足部訓練
也就是雙腳朝前併攏墊腳尖的動作
儘管這個動作十分經典
過去卻鮮少研究去測試
改變腳踝位置是否會影響
不同肌肉的活化程度
直到近期看到這篇文獻
覺得十分有趣,想跟大家分享
「The influence of foot position on lower leg muscle activity during aheel raise exercise measured withfine-wire and surface EMG」
研究中找了14為健康的男性
並使用肌電圖檢查(EMG)去測量
上週所提到的四條關鍵肌肉:
1. 脛後肌(tibialis posterior , TP)
2. 腓骨長肌(peroneus longus ,PL)
3. 屈指長肌(flexor digitorum longus , FDL)
4. 內側腓腸肌 (medial gastrocnemius ,MG)
並請測試者做以下三個動作:
A. 腳掌朝向正前方
B. 腳掌朝外
C. 腳掌朝內
去比較各個肌肉收縮的活化程度
研究結果如下:
脛後肌 : 腳掌朝內(圖c) > 腳掌朝前(圖b) >腳掌朝外(圖a)
屈指長肌:腳掌朝內 > 腳掌朝前 >腳掌朝外
腓骨長肌:腳掌朝外 > 腳掌朝前 >腳掌朝內
內側腓腸肌:無明顯差異
這樣看起來好像很複雜
其實一點都不會
如果結合我們上周所提到的
腳踝四大關鍵肌肉會發現
腳掌朝內、腳掌朝外
剛好適用於二種完全不同的情境
【足弓塌陷、足底筋膜炎=腳掌朝內】
脛後肌和屈指長肌
剛好都是可以幫助足弓撐起的肌肉
也可以有效的讓腳踝變得更加強壯
因此如果你的足弓塌陷、扁平足
或是有足底筋膜炎的話
就可以使用嘗試使用腳掌朝內
的墊腳尖訓練會更有效率喔!
【反覆性扭傷 = 腳掌朝外】
相反的,如果你曾經嚴重扭傷過
或是腳踝現在已經變得會反覆性扭傷了
這時候我們想訓練腓骨長肌的話
就可以使用腳掌朝外的墊腳尖訓練喔!
【建議搭配腳掌朝前訓練】
由於墊腳尖訓練,不僅只有訓練到腳踝
同時也會影響到髖關節的動作
為了避免髖關節在腳掌朝內或腳掌朝外
訓練後變得緊繃或無力
會建議搭配腳掌朝前的墊腳尖訓練喔!
#完整文章在留言中
#阿舟物理治療小教室
#腓腸肌
#脛後肌
#腓骨長肌
#calfraise
tibialis raise 在 Mark Sir 教室 Youtube 的最佳解答
【告別粗壯小腿甲組腳】
新一集 《#與區議員一齊運動》, 我們會與 觀塘區議員 ‧ 梁翊婷 Edith Leung 一齊瘦小腿
承接上集,由於同樣沒有定點減肥 (Spot Reduction) 這回事,首先要做的仍然是體重管理,其次是飲食上需要減鹽減糖,避免下身水腫
這裡補充一點:跑步,特別是慢速的耐力跑,偏向使用 Type 1 Muscle Fibre 慢肌肌肉纖維,不易使小腿變粗,反而是瘦身法寶
第三點,則是跑姿方面:集中於轉髖、 Hamstring 膕繩肌收縮,可減少對小腿的依賴;過高的鞋跟亦會逼使小腿長時間用力,如平日多穿高跟鞋,則更容易感到小腿腫脹
另外,骨盤前傾、股四頭肌偏緊造成的 Knee Hyperextension 膝超伸,會促使小腿與大腿鬥力,這往往係下腹 Transverse Abdominis 腹橫肌懶惰、不懂用力的結果
最後,平常講的小腿肥大,多數係指後方的 Gastrocnemius 腓腸肌 與 Soleus 比目魚肌。 除了拉筋以後,強化 Tibialis Anterior 脛前肌的練習 ( 包括 Toe Raise 舉腳趾 與 Heel Walk 腳跟步 ) 都係有用的功課,有助平衡前後、防止受傷
