Political Cycle ประกาศผลการเลือกตั้ง หุ้นจะขึ้นหรือจะลง?
.
วันที่เราจะได้รู้ผลการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐก็อยู่อีกไม่ไกลแล้ว
ท่ามกลางเสียงวิพากษ์วิจารณ์และกระแสมากมายจากสำนักข่าวทั่วโลก
นักข่าวและนักวิเคราะห์มากมายได้พูดถึงผลกระทบต่างๆในด้านนโยบายของประธานาธิบดีสองคนนี้
.
ไม่ว่าจะเป็น นโยบายต่างประเทศกับจีน, Trans-Pacific Partnership, การเพิ่มภาษีกลุ่มบริษัท Technology, ผลประโยชน์ต่อบริษัทกลุ่ม renewable energy, ถ้าไบเดนได้ หุ้นจะลง? หุ้นจะขึ้น?, ฯลฯ และอีกมากมาย
เรื่องเหล่านี้หาอ่านได้จากหลายบทความและหลายสำนักข่าว
การคาดเดาอนาคตที่ทุกคนก็พยายามจะตีความ, ทำนายและกะเก็งราคาไปต่างๆนาๆ
.
แต่...การเลือกตั้งไม่ใช่สิ่งใหม่ที่คนเพิ่งสนใจ
แน่นอน! ตั้งแต่ประธานาธิบดีคนแรกของสหรัฐอเมริกาดำรงตำแหน่งในปี 1789 สหรัฐอเมริกามีประธานาธิบดีมา 45 คน (รวมถึง Donald Trump)
และผ่านการเลือกตั้งมาหลายต่อหลายครั้ง ย่อมไม่แปลกที่จะมีนักเศรษฐศาสตร์และนักวิจัยจำนวนมาก
ให้ความสนใจถึงผลกระทบของตลาดการเงินและทำการศึกษาและตีพิมพ์ผลงานวิจัยออกมาอย่างมากมายเลยครับ
.
วันนี้ผมอยากจะมาเล่าอีกมุมมองหนึ่งของการเลือกตั้งและตลาดการเงิน
ผ่านมุมมองของงานวิจัยแบบ empirical evidence (หลักฐานที่เกิดขึ้นจริงในอดีต) เรามาดูกันดีกว่าว่า มีประเด็นอะไรที่น่าสนใจบ้างครับ !
.
* อย่าลืมว่านี่เป็นเพียงการศึกษาจากหลักฐานและข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งอาจไม่ได้เป็นตัวชี้วัดได้ 100% กับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
** บทความนี้ไม่ได้เป็นการชี้แนะให้ซื้อหรือขายหุ้นแต่อย่างใด อยากให้ทุกคนลงทุนอย่างระมันระวังกันด้วยนะครับ
*** ผมไม่ได้เชียร์ใครเป็นพิเศษนะครับ เพียงแต่อยากจะเอา empirical fact มาพูดให้เพื่อนๆฟังกันครับ
.
=============
.
เริ่มกันเลยดีกว่า
มาดูกันว่าจากงานวิจัยมากมายที่ได้รับการตีพิมพ์ในสำนักพิมพ์ชั้นนำระดับโลก มีการกล่าวถึงหัวข้อนี้อย่างไร
.
1. การเลือกตั้ง หมายถึง ความผันผวนที่เพิ่มขึ้น และ ผลตอบแทนระยะสั้นอาจะเป็นขาลง
.
(Increase Volatility & Short Term Negative Impact)
ในหนึ่งปีหลังการเลือกตั้ง ผลตอบแทนจากตลาดหุ้นมักจะน้อยกว่าปีอื่นเล็กน้อย ข้อมูลจากปี 1926 - 2019 พบว่า CRSP index (ดัชนีหนึ่งที่บ่งบอกถึงผลตอบแทนตลาดหุ้นทั่วโลก อะไรคือ CRSP index? อ่านเพิ่มเติมได้ที่ https://riskproadvisor.com/factsheets/tpfgtamp/strategy1/models/VG_CRSP_100__Equity_063017_17-07-31-07-05.pdf)
.
ในปีมีการเลือกตั้ง ผลตอบแทนอยู่ที่ 10.6% เทียบกับปีอื่นๆที่อยู่ที่ 11.9%
ถึงแม้พิจารณาค่าเฉลี่ยดูไม่ต่างกันมาก แต่ถ้าพิจารณารายปีแล้ว 23 ครั้งที่มีการเลือกตั้ง ดัชนี CRSP มีผลตอบแทนติดลบถึง 7 ครั้ง
.
ในขณะที่ปีอื่นๆที่ไม่ได้มีการเลือกตั้งนั้น ผลตอบแทนเป็นบวกทั้งหมด
นอกเหนือจากนั้น การที่ประธานาธิบดีคนปัจจุบันได้ดำรงตำแหน่งต่อไป หากดูจากผลตอบแทน S&P500 index ย้อนหลังตั้งแต่ปี 1928 - 2019
พบว่าผลตอบแทนเฉลี่ยอยู่ที่ 13.9% ในปีเลือกตั้ง ในขณะที่ถ้าประธานาธิบดีคนใหม่ได้รับการเลือกตั้งนั้น ผลตอบแทนอยู่ที่ 9.3%
คนเราไม่ชอบความไม่แน่นอนครับ สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นจากความไม่มั่นใจในนโยบายทางเศรษฐกิจจากการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและแน่นอนจะส่งผลต่อความผันผวนระยะสั้นดังที่ได้กล่าวไว้ในงานวิจัยโดย Zorina et al ในปี 2019 หัวข้อ With Greater Uncertainty Comes Greater Volatility ตีพิมพ์ใน Journal of Index Investing
ว่าความผันผวนในระยะสั้นนั้น (วัดโดย VIX: Cboe Volatility Index (VIX) อ่านเพิ่มเติมได้ที่ https://www.investopedia.com/terms/v/vix.asp) มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับการเลือกตั้ง โดยเฉพาะการเลือกตั้งที่มีความสูสีคู่คี่มากครับ
.
2. ถ้าพรรคที่เชียร์ได้ เราจะมีมุมมองบวกต่อการลงทุน
.
ทุกคนย่อมมีพรรคการเมืองที่ตนเองชอบทั้งนั้น สำหรับสหรัฐแล้วคงหนีไม่พ้นสองพรรคใหญ่อย่าง Democrat และ Republican
จากงานวิจัยโดย Yosef, et al ในปี 2012 หัวข้อ Political Climate, Optimism, and Investment Decisions พบว่า
คนที่เชียร์พรรคอะไรอยู่มักจะมองว่า พรรคที่ตัวเองได้จะส่งผลดีต่อเศรษฐกิจและตลาดหุ้น และส่งผลให้ประเมินความเสี่ยงต่ำกว่าความเป็นจริงได้
.
อย่างที่ทราบกันว่า ก็มีคนที่ชื่นชอบทั้งสองพรรค ดังนั้นมุมมองและความคาดหวังของนักลงทุนในด้านที่ใครจะได้ขึ้นเป็นประธานาธิบดี ไม่ได้เป็นปัจจัยส่งผลโดยตรงต่อตลาดหรือสามารถใช้ในการทำนายตลาดได้เลยครับ
แต่ที่น่าสนใจกว่านั่นคือ หัวข้อถัดไป
.
3. Democrat vs. Republican and Medium term
.
งานวิจัยที่โด่งดัง โดย Santa-Clara และ Valkano ตีพิมพ์ใน Journal of Finance ปี 2003 ในหัวข้อ The Presidential Puzzle: Political Cycles and the Stock Market ได้ทำการศึกษาข้อมูลตั้งแต่ปี 1927 - 1998, ตั้งแต่ Roosevelt จนถึงสมัย Clinton มีบทสรุปที่น่าสนใจว่า
.
- ผลตอบแทนจากตลาดหุ้นแตกต่างกันอย่างมีนัยยะสำคัญ
ในปีที่ ประธานาธิบดี Democrat ได้รับการเลือกตั้ง ผลตอบแทนจาก Largest Firms (หุ้นกลุ่มบริษัทขนาดใหญ่) สูงกว่าในปีที่ Republican ได้รับเลือก ถึง 7% และยิ่งไปกว่านนั้น สำหรับ Smallest Firms (หุ้นกลุ่มบริษัทขนาดเล็ก) ผลตอบแทนในสมัยของ Democrat มากกว่าถึง 22%! โดยเฉลี่ยแล้วผลตอบแทนของ CRSP ต่างกันมากถึง 16%!นอกจากนั้น 3 month Treasury Bill โดยเฉลี่ยแล้ว ในสมัยของ Democrat ก็ยังคงสูงกว่าถึง 9%
.
- Santa-Clara และ Valkano พิสูจน์ว่าผลตอบแทนที่ต่างกันนั้นไมเกี่ยวข้องกับ Business Cycle Variable (ปัจจัยที่เกี่ยวกับวงจรของธุรกิจ)
- ความแตกต่างของผลตอบแทนไม่ได้เกิดขึ้นระหว่างการเลือกตั้ง แต่ใช้เวลาในการเกิดขึ้นหลังจากได้รับการเลือกตั้งแล้ว
- ความผันผวนมักจะสูงกว่า ในสมัยที่ ประธานาธิบดีจาก Republican ได้รับการเลือกตั้ง !
.
ซึ่งนี่แปลว่า พรรค Democrat ส่งผลดีต่อเศรษฐกิจของสหรัฐและของโลกโดยรวม ใช่หรือไม่?
อาจจะไม่ใช่! เพราะว่าอะไร? เรามาดูกันในหัวข้อถัดไปกันครับ
.
4. Risk Aversion & Risk Premium
.
Risk Aversion คือ การที่คนหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (เช่นการลงทุนในหุ้นในสัดส่วนที่น้อยลง อาจจะลงในอย่างอื่นเช่นพันธบัตรมากขึ้นหรือเลือกท่ีจะเก็บในบัญชีธนาคารมากกว่า มีความระวังมากขึ้น รอลงเมื่อหุ้นราคาลงมามากๆเท่านั้น)
.
Risk Premium คือ อัตราส่วนต่างที่เราต้องการเพื่อเป็นค่าความเสี่ยง เหมือนเป็นส่วนต่างไว้กันเหนียว (เช่น ถ้าเรามองหุ้นบริษัท ก ไก่ มีความเสี่ยงมาก เราจะขอ Risk Premium มากขึ้น คือหุ้นต้องราคาต่ำมากจริงๆ มี Risk Premium มากจริงๆ ถึงจะกล้าซื้อ)เป็นธรรมดาที่คนเราจะกล้ารับความเสี่ยงที่มากขึ้น เวลาเราคิดว่าเศรษฐกิจกำลังจะไปได้ดี, และเป็นธรรมดาที่เมื่อเรากล้ารับความเสี่ยงที่มากขึ้น โอกาสที่เราจะได้ผลตอบแทนน้อยลงก็มากขึ้นเพราะขาด Risk Premium ที่สมเหตุสมผล ในขณะเดียวกัน ถ้าเรามองเศรษฐกิจไม่ดี เราจะมี Risk Aversion ที่มากขึ้นและต้องการ Risk Premium มากขึ้น และโอกาสในการกำไรก็มากขึ้น
.
ในช่วงเวลาที่คนมีความกลัวและรู้สึกถึงความไม่แน่นอน คนมักจะเลือกพรรคการเมืองที่เป็นฝ่ายซ้าย หรือ Democrat (งานวิจัยที่สนับสนุนเรืองนี้มากมาย เช่น จาก Pastor & Veronesi, Political Cycles and Stock Returns ปี 2019 และ L. Guiso et al., Time varying risk aversion ปี 2018) ด้วยความกลัวความไม่แน่นอนในเศรษฐกิจ, การตกงาน, ความฝืดเคือง และส่งผลให้คนแสวงหารัฐสวัสดิการมากขึ้น
.
ดังนั้น จากหลักฐานเท่าที่มีเราอาจจะกล่าวได้ว่า ไม่ใช่ Democrat ที่ทำให้ผลตอบแทนของตลาดทุนไปได้ดี แต่เป็นเพราะว่า คนมักเลือก Democrat ในจังหวะที่คนมี Risk Aversion และเพราะ Risk Aversion ต่างหากที่ทำให้คนมีความรอบคอบในการลงทุนที่มากขึ้น และนั่นเองส่งผลให้ผลการตอบแทนในการลงทุนเป็นไปได้ดีครับ
.
==========
.
Risk Averse นั้น สำคัญมาก เพราะไม่มีอะไรแน่นอนครับ
.
ในปี 2016 ที่ Donald Trump แข่งกับ Hillary Clinton ก็ไม่มีใครคาดคิดว่าปี Trump จะชนะ จนกระทั่งประกาศผล
อเมริกาก็เพิ่งเคยมีประธานาธิบดีแบบ Donald Trump ที่สำหรับนักวิเคราะห์หลายๆสำนักแล้ว ยากที่จะเดาทางได้ เล่นเอาปวดหัวกันไปทั่วโลก
ไม่มีใครคาดว่าจะเกิด Covid-19 และจะเกิดการระบาดขนาดนี้และส่งผลต่อเศรษฐกิจโลกไปอีกหลายปี
.
ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม ขอให้ทุกคนลงทุนอย่างระมัดระวังและรอบคอบครับ
Risk Averse ไม่ใช่การไม่รับความเสี่ยงแต่คือการรับความเสี่ยงแต่พอประมาณ
ลงทุนด้วยความไม่ประมาท กระจายความเสี่ยงอย่างเหมาะสม
และขอให้ผ่านพ้นช่วงเวลานี้ไปได้ด้วยกันนะครับ
.
ขอบคุณข้อมูลจาก
.
https://www.forbes.com/sites/kristinmckenna/2020/08/18/heres-how-the-stock-market-has-performed-before-during-and-after-presidential-elections/?sh=595fb9754f86
ช่อง Common Sense Investing by Ben Felix: https://www.youtube.com/watch?v=HYHu9PMY_C4
https://eprints.pm-research.com/17511/34817/index.html?49834
[2019] Pageant Media. Republished with permission of PMR Journal of Index Investing [With Greater Uncertainty Comes Greater Volatility, Inna Zorina, Jamie Khatri, Carol Zhu, and James J. Rowley Jr., Volume 10, Issue 3]
https://papers.ssrn.com/sol3/papers.cfm?abstract_id=1509168
Bonaparte, Yosef and Kumar, Alok and Page, Jeremy K., Political Climate, Optimism, and Investment Decisions (February 26, 2012). AFA 2012 Chicago Meetings Paper, Available at SSRN: https://ssrn.com/abstract=1509168 or http://dx.doi.org/10.2139/ssrn.1509168
Pastor, Lubos and Veronesi, Pietro, Political Cycles and Stock Returns (May 26, 2019). Chicago Booth Research Paper No. 17-01, Fama-Miller Working Paper, Available at SSRN: https://ssrn.com/abstract=2909281 or http://dx.doi.org/10.2139/ssrn.2909281
https://papers.ssrn.com/sol3/papers.cfm?abstract_id=2909281
Luigi Guisoa,b , Paola Sapienza b,c,d, Luigi Zingales, Time varying risk aversion / Journal of Financial Economics 128 (2018) 403–421
http://www.eief.it/eief/images/Guiso-Sapienza-Zingales_JofFE_2018.pdf
แอดโจ
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過40萬的網紅我要做富翁,也在其Youtube影片中提到,今天的街頭智慧,我們會和大家介紹及致敬投資大師Richard Dennis 的海龜投資法則。80年代,Richard Dennis 利用他的海龜投資法,以18年時間在期貨市場,由400美元成本成就2億美元的資產。這次我們會以恆生指數及標普500指數為對象,回測這位投資大師的交易策略。而且一如以往對這...
s&p500 investing 在 元毓 Facebook 的最佳貼文
【美國失業人數破2千萬為何股市上漲?再來怎麼看?】
(文長圖多,建議點連結閱讀)
答案是因為通膨預期與病毒實質危害不大,分別解釋如下:
一、 通膨預期
根據卡內基梅隆大學經濟學教授Allan Meltzer研究發現,1941年到1945年這段時間Fed採取的貨幣寬鬆政策,造成股市年複合成長率高達51.5%,但同時段CPI年複合增長率僅5%左右。這意味股價與實體經濟不但可以脫鉤,而且幅度也可以相當巨大,時間可以相當長。反之,從CPI去觀察通貨膨脹是無效且錯誤的,這一塊我會另以新文章解釋。
另一方面通貨膨脹不見得是一種「普遍性」現象均勻地發生在所有的貨物服務價格上,通常反而是存在「密度不同」現象-- 在不同資產類別上,各有不同的通膨效果,所謂Cantillon Effect是也。這個觀念我在好幾年前也談過,此不贅述。
貨幣理論大師Milton Friedman也分別從1920年代/1990年代的美國、與1980年代的日本,三個時期的研究證明貨幣總量的增加會顯著造成股市整體上漲。此外Friedman更進一步點出,當股市因泡沫破裂崩盤後,貨幣總量的增加或減少,會更進一步影響崩盤後的股價表現。
此次Covid-19疫情下,因政府選擇lockdown造成經濟全面停擺,美國Fed祭出前所未見的瘋狂印鈔救市(見圖一),其瘋狂程度大破歷史紀錄!
為何Fed如此瘋狂?請參見我之前寫過的三篇文章:
「利率倒掛與repo rate」
「為何此次崩盤黃金也跟著跌黃金不是避險工具嗎?」
「黃金與美國政府債券價格的現階段意義」
我在這三篇文章清楚解釋repo利率、十年國債利率乃至於美國地方政府債券利率等,都是3月份以來Fed必須強力壓抑以避免資產價格全面崩盤、美國州政府以下破產,人民也因利率飆漲房貸、車貸違約沖天被迫私人破產等恐怖惡性循環。尤以Fed針對持有美國國債的外國中央銀行快速設立FIMA Repo Facility用意最是明顯,足證Fed其實很害怕他國央行趁機在債券市場倒貨換現誘發美國國債利率飆升與流動性乾涸同時發生從而窒息美國經濟。
從經濟學理論看,Fed作為央行角色,除了快速擴大自身資產負債表以及破天荒新增注資管道之外,其實別無他法。真實世界我們也看到此次Fed諸多破天荒的措施,例如成立PMCCF & SMCCF、Main Street Lending Program、Municipal Liquidity Facility與直接購買ETF…等,金額也都是前無古人地幾千億、上兆美元狂灑。
這也表示Fed此次介入之廣、印鈔速度之快,與2008年金融危機時截然不同,自然也會在資產價格上產生不同效果。
總的來看,Fed透過上述債券或商業票券管道注資,過低的債券殖利率勢必壓擠市場原有資金尋找其他投資標的,因此可想而知對股市資產價格通膨預期會產生強大影響。
是的,根據I. Fisher的利息理論,股票資產價格應該是反映未來收入流折現之總和,W=I/r是也。但Fisher的利息理論並無貨幣因素考量。當通膨發生時,W的名義價格成長速度是可以抵過Income的悲觀預期改變。更何況,真實經濟並未因Covid-19重創,我放到第二點談。
順道一提,價值投資這個投資方法究其核心邏輯完全忽略了「貨幣因素」如此重要的侷限條件,而這是個大問題。也正因為如此,價值投資奉行者一旦碰上貨幣現象強烈變化時就容易手足無措、不知如何處置。這在2008年後的十年來最為明顯,就連巴菲特1965年以來的驚人長期績效也在近十年越趨平淡。(見表)
我認為與資金數額大過一定量後,轉受到『邊際生產力遞減』的影響也有關係,但正也因為巴菲特手頭資金夠大,他主要用來降低股票買入成本的手法(特別股議價機會與股票選擇權操作)方可實施。所以要精準分析出貨幣因素與巴菲特80%價值投資之間的相互影響關係,我認為不容易且工程浩大。如果讀者有興趣,有機會我再詳談巴菲特怎麼用比市價更低的方式買入股票。
從投資角度與更進階的經濟學角度看,Fed如此高強度介入債券乃至於他種證券(股票、商業票券)市場的貨幣政策,也會讓傳統以長短期債券利率差預估通貨膨脹率等總體經濟學常見手法通通失效,這意味著價格理論基礎薄弱、只會墨守成規的所謂財經專家們將跌破更多副眼鏡。這是說檯面上很多股民追捧的某些大師關於總體經濟之看法、言論、備忘錄…,都只是一些大師自己也不知道說什麼的扯淡。
二、 病毒危害小於政府封鎖危害,因此恆久收入預期影響不大
截至5/15,全球因Covid-19死亡人數約30萬人,然而1957年與1968年各有兩次殺死全球百萬人以上的流感,但從S&P500指數歷史來看,兩次更嚴重的流感卻未造成股價崩盤(見圖)。
根據WHO統計,2016年全球死於呼吸道感染(今年流行的Covid-19就會被歸類為此分類)就有295萬人(見表),每十萬人死亡數是39.63人(CDR, Crude Death Rate)。目前美國可算是世界疫情最嚴重的地區之一,然而相較於2016年來看,目前美國Covid-19的CDR數值是每十萬人死亡26.2人。事實上並非特別嚴重的傳染病,但卻造成遠比過去更嚴重疫情下還大的經濟損失?
如同我在4/12「Michael Burry與我所見略同」一文中談過:
「政府過度干預封鎖防疫的代價可能比什麼都不做還高!」,並以大蕭條、2008年金融風暴時期的自殺率為參考,認為:
「…自殺人數與病死人數邏輯上不應該只是相比,而是要相加。這是說,即便高度管制下最後COVID-19在美國僅造成等同流感的病死數(約5.5萬人),但若因高度管制造成的經濟衰退自殺人數等同2008年,則每十萬人死亡人數相加後仍達16.88人,恰好約莫等於我假設的狀況一死亡人數。這意味著高度管制下死亡人數有可能等於什麼都不做。…」
而許多研究逐漸指出,Covid-19實際感染人數恐怕遠高於目前所知,這反推回來,此病的CDR數值會比目前所知還低。
再看看德國,從疫情爆發以來德國政府採取民間工廠可自行決定是否繼續營運的政策,80%的私營工廠也如此選擇。
有意思的是,這些德國工廠如何做到儘量降低員工罹病風險的前提下維持日常生產活動?答案是:「向中國學習!」例如德國第一大汽車集團Volkswagen AG就向中國工廠學習引入「100條管理規則」,從工人防護服、員工餐廳安排到工作流水線安排、如何檢測排除可能罹病者與罹病員工安排…等等。這股向中國工廠學習風潮讓Winfried Imminger這家公司在Mulfingen的工廠3800多名員工迄今只有8人確診並隔離,也讓多數德國工廠可以維持疫情爆發前70~80%的生產力。
這個例證也使我相信,疫情平緩之後的世界並不會有翻天覆地的改變。是的,為了避免疫情再起,許多與過去不同的措施,尤其是個人防護配備、社交距離(social distance)或公共交通站點/工作/娛樂場所監控體溫等等會實施,但我相信因此而提高的整體社會費用並不會比911恐怖攻擊後全球反恐措施來得高。
因此我們即便看到現時經濟因政府干預而停止運作的收入損失似乎巨大,但也僅止於現時。當多數國家解禁(事實上連美國也不顧疫情開始解禁)後,未來收入流的負面影響是相當有限。
有人會問:可是眼下美國2千多萬人失業是鐵錚錚的事實啊?!
1.買出來的失業人數
我在前述「Michael Burry與我所見略同」一文也談過,2017~2018年的美國流感疫情導致81萬人住院、6.1萬人死亡,但同期失業率卻是一路下降,足證明單一傳染病本身並不會造成失業。美國現在破歷史紀錄的2千萬人失業是政府兩大舉措造成:
(1) lockdown
從制度經濟學角度看,當市場需求曲線快速向左下移動時,如果成交價格沒有彈性,則市場會以unemployment呈現:於物是滯銷、於資金是爛頭寸、於人則是失業。
這個觀念我十幾年來談過無數次,可自行參閱舊文如:「拯救失業率,我們需要的刪減失業補助!(2014)」
佐以美國工會、勞動保護法規、最低工資限制等等箝制契約自由的政府干預,面對這種政府強制暫停經濟活動的舉措,大量無薪假與失業是必然,根據價格理論原理,尤以邊際租值低的勞工為甚,這點我們也可以從美國勞動部對4月份失業統計看出,餐飲服務業失業率從去年同期4.5%暴增至39.3%;但相對邊際租值較高的金融服務業則從2.1%升至5.4%。(見表)
學歷越差者,失業率越高(見圖)
(2) 過於優渥的失業補助
早在上個月我就從美國營運餐廳的友人處聽得:「這麼多人失業,怎麼餐廳還找不到員工?」的矛盾現象。
後來一查發現某些州的雙重失業補助(州政府+聯邦政府)與因疫情的從寬認定下,一名週薪$600美元的勞工失業後可能領到超過$1200元的補助,而且起碼領到7月底沒問題。失業還領更多?根據經濟學定律申請失業補助者大增完全是情理之中。
後來更看到華爾街日報報導,某些小企業的員工主動跟雇主達成協議,透過「輪流失業」讓公司內的雇員「人人有失業補助領」。
與此同時我們也看到,美國為了保障中小企業繼續聘僱員工的「Paycheck Protect Program (PPP)」條件是該企業領取貸款後必須「繼續聘僱員工」方能獲得債務豁免。然而許多企業卻因lockdown無法營業,繼續聘僱不能來上班的勞工對企業毫無誘因,使得企業乾脆選擇結束營業而非申請補助。這一塊又加重失業人數之增加。這也造成美國國會雖然在4/27緊急增加$3700億美元補助金,但迄今卻出現40%閒置無人申請的矛盾現象。再一次證明「政府本身就是問題,政府無法解決問題」。
這是說,看似嚇破膽的歷史紀錄2千多萬人首次申請失業補助的背後,並非病毒導致而是美國政府干預創造出來的怪獸。因此不管Covid-19引起的疫情是否取得「曲線平緩(flatten the curve)」,只要干預拿掉,經濟都會逐步恢復原狀。
2.低廉的石油價格有助於實體經濟
疫情前全球每日石油需求約1億桶,其中約60%用於燃料用途。疫情後,全球燃油消費大減,例如某些航班數減少9成,路上行車數量也大減。這些同樣是因政府干預限制,並非因疫情本身。
先前西德州石油期貨價格在結算前下殺至負數,我認為屬於一堆不黯遊戲規則的抄底散戶因無力真實點交原油而被痛宰的意外事件。要知道,西德州石油期貨契約是包含delivery條款,一方可以真實要求點交原油:
「Delivery Procedure:
Delivery shall be made free-on-board ("F.O.B.") at any pipeline or storage facility in Cushing, Oklahoma with pipeline access to Enterprise, Cushing storage or Enbridge, Cushing storage. Delivery shall be made in accordance with all applicable Federal executive orders and all applicable Federal, State and local laws and regulations.
At buyer's option, delivery shall be made by any of the following methods: (1) by interfacility transfer ("pumpover") into a designated pipeline or storage facility with access to seller's incoming pipeline or storage facility; (2) by in-line (or in-system) transfer, or book-out of title to the buyer; or (3) if the seller agrees to such transfer and if the facility used by the seller allows for such transfer, without physical movement of product, by in-tank transfer of title to the buyer.」
石油現貨價格的確因中東局勢與lockdown大幅下跌,可不至於到暗無天日,如台灣商周聲稱「石油紀元結束」那般悲觀。
事實上我們看到有能力儲存石油的業者租下大量油輪滿載原油漂浮在海上(見圖);又有人大量租賃游泳池簡易改裝後注滿石油(見圖);也有人使用大型填充包儲存石油(見圖)。這些行為均代表某種對未來收入樂觀的預期,才會於此時真金白銀下賭注。
另一個重點,是延續前一點的經濟邏輯 -- 如果市場價格有下修彈性,則unemployment就不容易出現,市場就能清市。延伸來說,任何生產要素如果能在景氣下行時價格能下修,則代表該社會整體制度的交易費用低於價格較無彈性的制度。此點會在景氣落底回升時在生產力與創造財富效率上呈現高低差異。
當然,從更根本角度看,市場只要能自願地employment,無論價格多低,都勝過非自願unemployment。前者對保護未來收入預期與財富損失上都更有利。這兩點會影響股票債券價格,投資者必須注意。
三、近期應注意:
a. 卡債、房貸的違約率
雖然我們知道美國卡債違約率2016年以來就逐步攀升至2019年Q4的2.61%,尚遠低於2009年近7%。房貸違約率2019年末也是樂觀的數字,但Fed公開的統計資料始終是落後指標。
因此我們需要參考更即時的數據,可債券市場因此次Fed霹靂手段干預之下,我認為無論國債、地方債乃至於高債信公司債的利率都存在一定程度的扭曲。這又回到經濟學理論的老生常談:政府干預市場利率的下場必然增加市場活動參與者對未來收入流預估的訊息費用。
投資人無可避免要學會與之共處,同時透過加強自身經濟邏輯與知識廣度來降低費用。
我自己會轉向參考其他數據或真實經濟現象,比方我們可以在排除貨幣流速影響下,從特定經濟活動的速率變化推估真實利率邊際變化,這是高階的利息理論應用,要深談得寫本書,此處點到為止。我只是要點出這種難度較高的經濟邏輯,坊間多數財經專家連邊都碰不上,甚至連感知這類概念存在的能力都不具備,因此多數人的財經建議也就毫無參考性可言。
退而求其次,又或者可以參考repo利率與低信評公司債殖利率。
b.Collateralized Loan Obligation (見圖)
談到低信評公司債就多說兩句CLO(Collateralized Loan Obligation)。與債信較低的槓桿債(leverage loan)包裹連結的CLO在美國總市場規模從2007年的$3270億增長至2019年底的$6910億美元,CLO如果發生崩盤,那將會是2008年金融危機CDO的翻版,而當年CDO全球市場規模在$4千多億美元。CLO背後連結的槓桿債規模也達$1.2兆美元。
槓桿債很常發生在槓桿併購(LBO, leveraged buyout),簡單說就是某A想買下B公司,但又不想出錢或資金不足。於是以B公司的未來收益或資產為擔保,向銀行C借錢併購B。對,你沒看錯,是以「B公司的未來收益或資產」為擔保,不是A自己。這種併購方式通常會帶來高負債比甚至伴隨高利率,實務上發動併購方可以只出一成的資金,就買下十倍大的對手,所以才叫「槓桿(leverage)」。
這種併購方式在順風順水的年代可以快速擴充,但一旦出現市場整體流動性枯竭與景氣反轉,也死得特別快。讀者還記得我「利率倒掛與repo rate」一文提到去年九月的詭異repo rate飆升,就滿足了「流動性枯竭」這第一要件,子彈已然上膛。Covid-19引發的政府強制經濟活動停滯則很有可能是扣下扳機的那隻手。
然而,若僅僅是單純的LBO,破產者就侷限在A與相關金融往來對象,還算是「個體風險」。但如同2008金融風暴那錯綜複雜的CDO金融產品一樣,CLO把LO重新包裹證券化後,又把個體風險搞成系統風險。
可能不熟悉金融的讀者會疑惑:這些有錢人高來高去的資產價格崩盤於我何干?
以Envision Healthcare這家美國大型醫療機構為例,2018年KKR透過槓桿債的方式全盤買下Envision醫院體系,但Covid-19後美國流動性枯竭,造成短期利率與垃圾債券利率飆升,瞬間讓Envision現金短缺甚有破產危機,結果就是在面對Covid-19疫情加速惡化的四月,Envision旗下醫院急診室不但沒有防護裝備給第一線醫護人員,也因付不出薪資、獎金而大幅刪減急診室人力。與Envision槓桿債掛勾的CLO也是前途無亮等著被降信用評等。然而,信用評等降級對這些本就採取高槓桿債務併購的公司等於是雨天收傘,進一步惡化其財務與現金短缺狀況,對美國第一線疫情防護恐怕雪上加霜。
再把視角轉到日本,農林中央金庫(Norinchukin Bank)是日本最大吸收農漁民存款的金融機構,同時也是世界最大CLO買方,2008年後累積購入金額達$750億美元。一旦CLO市場如2008年的CDO市場一樣轉瞬崩潰,則日本普遍高齡的農漁民生計與財富損失,以及對日本經濟的連鎖效應可想而知。目前尚可安心的是,農林中央金庫只購入安全等級最高的CLO。
可另一方面,也正因為Covid-19帶來的經濟停滯,許多優良債務人紛紛出現無力支付本金利息的現象,從而引發評價機構紛紛下調CLO內含債權的評等,例如Moody在4月中調降高達$220億美元CLO的評等,加上S&P,二家機構合起來降評了20%美國境內發行CLO。這直接影響了持有美國境內40% BBB等級CLO tranches的各大保險公司,這可能意味保險公司資產價格重挫下履行保險契約支付賠償金的能力也可能縮水。
若美國許多受感染者或其他疾病患者發現即便自己購買了昂貴的醫療保險,但保險公司支付卻可能無力支付醫療費用時,接下來會發生什麼事?
這一整段有關CLO的敘述只是美國盤根錯節的金融契約結構中的一個切面,但我相信已經能讓讀者感受到「牽一髮而動全身」的可怕。
從這點我們也不難理解,為何身為美國最大「再保險」集團之一的主事人巴菲特在此時選擇提高並保持現金水位,特別是大量賣出08年以優惠價格條件買入的Goldman Sachs超過1千萬股($17億美元)。
結論:
我認為美國股市未來相當長時間就會在「通膨預期」與「未來收入預期」兩股力量拉扯推擠走下去。二者可以是同方向或反方向。因為「市場預期」這看不見摸不著的東西很難建立具有科學預測力的經濟理論。
我不認為真實世界的生產力受到病毒摧殘,而是受到政府干預干擾。可是一旦悲觀預期形成,資產價格下修的可能性會存在。而美國複雜交錯的金融制度可能把個體風險放大為系統性風險,這在2008年發生過一次,如今不是不可能再從CLO引爆歷史重演。
誠如我前兩日談過如何從價格理論快速看國富增長,美國主要靠服務業(特別是金融服務)這種架空經濟要持續運作的前提是基於深度全球化分工。根據Adam Smith的國富論,全球市場分工越多元、越細緻、越深入,世界整體財富增長速度越快,當然走虛擬金融經濟為主的美國也會因上頭租值佔比高而享受更高的財富增速。
反之,美國如果自己跑出來反全球化,那死得最慘的是自己。
又,當今的貨幣政策會大幅增加訊息費用,判斷真實利率的難度大增,考驗投資者對價格理論、利息理論的熟稔與精通程度。
一般投資人對於真實世界關鍵侷限條件與轉變的掌握程度會直接影響可選擇投資方法。指數型ETF這種放棄思考的被動投資或許還是適合多數人。
通貨膨脹下如何投資?另作文章說明。
本文參考資料:
WSJ: "The Federal Reserve Is Changing What It Means to Be a Central Bank" (2020-04-27)
Milton Friedman, "A Natural Experiment in Money Policy Covering Three Episodes of Growth and Decline in the Economy and the Stock Market" Journal of Economic Perspective, Vol. 19, (Fall 2005)
Allan H. Meltzer, "Current Lessons From The Past: How The Fed Repeats Its History." Cato Journal, Vol 34, No. 3 (Fall 2014)
Financial Times: "Coronavirus crisis: does value investing still make sense?"(2020-05-11)
WSJ: "New Data Suggest the Coronavirus Isn’t as Deadly as We Thought" (2020-04-17)
WSJ: "Why Doesn’t Flu Tank Economy Like Covid-19?"(2020-04-10)
WSJ: "Demand for Small-Business Loans Cools" (2020-05-08)
WSJ: "How Germany Kept Its Factories Open During the Pandemic" (2020-05-06)
WSJ: "Paying Americans Not to Work" (2020-04-22)
WSJ: "Businesses Struggle to Lure Workers Away From Unemployment" (2020-05-08)
WSJ: "Demand for Small-Business Loans Cools"(2020-05-08)
A. A. Alchian,"Information Costs, Pricing, and Resource Unemployment" (1969)
WSJ: "Millions of Credit-Card Customers Can’t Pay Their Bills. Lenders Are Bracing for Impact." (2020-04-25)
Financial Times: "CLOs: ground zero for the next stage of financial crisis?" (2020-05-13)
Financial Times: "Private-equity backed companies dominate lowest depths of junk" (2020-05-07)
Financial Times: "Coronavirus sell-off puts faith in CLOs to the test" (2020-04-23)
Financial Times: "Warren Buffett’s Berkshire dumps most of Goldman Sachs stake" (2020-05-16)
文章連結:
https://bit.ly/3bDEM3E
s&p500 investing 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳解答
หุ้นเทคโนโลยี กำลังครอบครองดัชนี S&P500 /โดย ลงทุนแมน
ดัชนี S&P500 ไม่เพียงแต่เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดภาวะเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา
เนื่องจากเป็นตัวแทนของบริษัทจดทะเบียนขนาดใหญ่จำนวน 500 บริษัท
แต่ดัชนีนี้ยังเป็นหนึ่งในดัชนีที่ได้รับความนิยมจากนักลงทุนจำนวนมาก
ที่ต้องการกระจายความเสี่ยงจากการลงทุน
โดยเฉพาะผู้ที่ต้องการมาลงทุนในกองทุนดัชนี
อย่างไรก็ตาม ดูเหมือนว่าวันนี้ดัชนี S&P500 กำลังถูกถ่วงน้ำหนัก
โดยหุ้นของบริษัทเพียงไม่กี่แห่ง
เรื่องนี้เป็นอย่างไร ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit ที่สุดของแอปมีสาระ
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ดัชนี S&P500 ก่อตั้งขึ้นในปี 1957 หรือเมื่อ 63 ปีก่อน
ปัจจุบัน มูลค่าของบริษัทใน S&P500 นั้นอยู่ที่ 918 ล้านล้านบาท
ซึ่งใหญ่กว่าตลาดหุ้นไทยประมาณ 57 เท่า
ดัชนี S&P500 คำนวณมาจากหุ้นขนาดใหญ่จำนวน 500 ตัว
จากทั้งตลาดหุ้น NYSE และตลาดหุ้น Nasdaq ซึ่งเป็น 2 ตลาดหลักในสหรัฐอเมริกา
โดยหุ้นที่ถูกนำมาคำนวณในดัชนีต้องเป็นหุ้นที่มีมูลค่าตลาดสูง และมีสภาพคล่องที่ดี
และด้วยความที่รวบรวมบริษัทขนาดใหญ่หลายแห่ง ครอบคลุมหลายอุตสาหกรรม ทำให้นักลงทุนมองดัชนี S&P500 ว่าสามารถช่วยกระจายความเสี่ยงจากการลงทุนได้
หลายบริษัทที่พอเอ่ยชื่อ
จะเป็นบริษัทที่ทุกคนคุ้นเคย เช่น
Alphabet บริษัทแม่ของ Google
Amazon บริษัทเทคโนโลยีด้าน E-commerce รายใหญ่ของโลก
Apple บริษัทเทคโนโลยีจำหน่ายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ รายใหญ่ของโลก
Exxon Mobil บริษัทพลังงานรายใหญ่ของโลก
Microsoft ผู้ผลิตและพัฒนาซอฟต์แวร์รายใหญ่ของโลก
หรือแม้แต่ Starbucks เชนร้านกาแฟรายใหญ่ของโลก
ครั้งหนึ่ง แม้แต่วอร์เรน บัฟเฟตต์ นักลงทุนชื่อดังของโลก เคยกล่าวเอาไว้ว่า “ถ้าคุณไม่รู้ว่าจะลงทุนอะไร ให้ลงทุนในกองทุนดัชนีที่คิดค่าธรรมเนียมต่ำ เพราะในระยะยาวมันจะช่วยสร้างผลตอบแทนที่ดีให้คุณได้”
คำพูดนี้ก็คงจะไม่ผิดอะไร เพราะการซื้อดัชนี S&P500 ก็เหมือนเราได้ร่วมเป็นเจ้าของบริษัทชั้นนำระดับโลกที่กล่าวมาทั้งหมด ซึ่งนับวันก็มีแต่ขยายกิจการ ขยายรายได้ ขยายกำไร ให้เติบโตขึ้นทุกปี
นับตั้งแต่ปี 1970-2019
ผลตอบแทนรวมของดัชนี S&P500 เฉลี่ยต่อปีเท่ากับ 10.6%
หมายความว่า ถ้าเราลงทุนด้วยเงิน 1 ล้านบาท
มาวันนี้เราจะมีเงินทั้งหมด 139 ล้านบาท จากระยะเวลาการลงทุนประมาณ 50 ปี
อย่างไรก็ตาม ดัชนี S&P500 นั้นถ่วงน้ำหนักด้วยมูลค่าตลาด (Capitalization-Weighted Index)
อธิบายแบบง่ายๆ ก็คือ หุ้นที่มีขนาดใหญ่ หรือ Market Cap สูง จะมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงของดัชนีสูงกว่าหุ้นที่มีขนาดเล็ก หรือมี Market Cap ต่ำกว่า
หมายความว่า ต่อให้มีหุ้นจำนวน 500 ตัวประกอบอยู่ในดัชนี แต่ถ้าหุ้นเพียงแค่ 5 ตัวมีน้ำหนักต่อดัชนีมาก
การเคลื่อนไหวของหุ้น 5 ตัวนั้นก็จะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของดัชนีมาก ไม่ว่าหุ้นจำนวนที่เหลือราคาจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
และนั่นคือ สิ่งที่กำลังเกิดขึ้นกับดัชนี S&P500 ในเวลานี้
นั่นก็เพราะว่า ณ วันนี้ บริษัทเทคโนโลยีขนาดใหญ่ 5 บริษัทกำลังมีอิทธิพลสำคัญต่อการเคลื่อนไหวของดัชนี
Apple มีมูลค่าหลักทรัพย์เท่ากับ 44 ล้านล้านบาท
Microsoft มีมูลค่าหลักทรัพย์เท่ากับ 44 ล้านล้านบาท
Amazon มีมูลค่าหลักทรัพย์เท่ากับ 34 ล้านล้านบาท
Alphabet มีมูลค่าหลักทรัพย์เท่ากับ 33 ล้านล้านบาท
Facebook มีมูลค่าหลักทรัพย์เท่ากับ 19 ล้านล้านบาท
เพียงแค่มูลค่าหลักทรัพย์ของ 5 บริษัทเทคโนโลยีนี้ ก็มีสัดส่วนกว่า 19% ของมูลค่าทั้งหมดของบริษัทในดัชนี S&P500
ที่น่าสนใจก็คือ
ถ้านับเฉพาะมูลค่าหุ้น Apple และ Microsoft รวมกัน ซึ่งมีมูลค่าเท่ากับ 88 ล้านล้านบาทนั้น กลับมีมูลค่ามากกว่ามูลค่ารวมของหุ้นทุกตัวในแต่ละอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมพลังงาน สาธารณูปโภค อสังหาริมทรัพย์ หรือเหมืองแร่เสียอีก
ในปี 2019
ดัชนี S&P500 นั้นเพิ่มขึ้นกว่า 28.8% เพิ่มขึ้นมากที่สุดนับตั้งแต่ปี 2013
แน่นอนว่าทำให้คนที่ลงทุนในดัชนีดังกล่าวได้ผลตอบแทนที่ดี ส่วนหนึ่งก็มาจากการปรับตัวเพิ่มขึ้นของหุ้นเทคโนโลยีดังกล่าว
อย่างไรก็ตาม ถ้าเรามองลึกลงไป
คนที่ต้องการกระจายความเสี่ยงจากการลงทุน
ณ ตอนนี้ อาจกำลังพบกับความเสี่ยงที่เกิดจากการกระจุกตัวของอุตสาหกรรมที่เป็นส่วนประกอบของดัชนี
เพราะหุ้นเทคโนโลยีกำลังครองสัดส่วนหลักในดัชนี S&P500
แต่ถ้ามองในอีกแง่หนึ่ง ดัชนีนี้ก็คงไม่ผิดอะไร
ถ้าเราคิดว่า ชีวิตมนุษย์กำลังดำเนินเข้าสู่โลกใหม่
โลกที่ถูกครอบงำโดยเทคโนโลยี..
╔═══════════╗
Blockdit ที่สุดของแอปมีสาระ
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-https://markets.businessinsider.com/index/s&p_500
-https://markets.businessinsider.com/index/s&p_500
-https://edition.cnn.com/2020/02/10/investing/sp-500-tech-stocks/index.html
-https://ycharts.com/stocks
s&p500 investing 在 我要做富翁 Youtube 的最佳貼文
今天的街頭智慧,我們會和大家介紹及致敬投資大師Richard Dennis 的海龜投資法則。80年代,Richard Dennis 利用他的海龜投資法,以18年時間在期貨市場,由400美元成本成就2億美元的資產。這次我們會以恆生指數及標普500指數為對象,回測這位投資大師的交易策略。而且一如以往對這個策略進行優化。究竟40多年後的今天,海龜技資法是否已失效?去片!
#投資 #我要做股神 #我要做富翁 #致富 #創富 #發達 #賺錢 #如何投資 #我要做富翁 #賺錢
#街頭智慧 #施傅 #海龜投資法 #海龜投資 #Richard Dennis #投資大師 #恆生指數 #標普500指數 #交易策略 #策略 #策略優化 #回測 #量化分析
======================
1) 本月活動,現正接受報名:
新我要做富翁 試堂分享會 (香港站)▶ https://money-tab.info/mts-trial?yt=1
贏在美股試堂分享會(Online)▶ https://money-tab.info/ussjac?yt=1
Jasper 期滙商品分享講座+試堂▶ https://money-tab.info/comjasp?yt=1
Eric Sir期指策略分享講座+試堂▶ https://money-tab.info/futeric?yt=1
King Sir 樓市講座▶ https://money-tab.info/proking?yt=1
齒輪理論 入門班/初班▶ https://edu.money-tab.com/m0m1-reg-c?m0m1=yt
其他活動▶ https://money-tab.info/activity?yt=1
2) 我要做股神APP下載:
iOS▶ https://bit.ly/moneytabapp_i
Android▶ https://bit.ly/moneytabapp_a
升級版▶ https://money-tab.com/membership
3) 緊貼我們社交平台,不錯過任何免費分析/教學:
訂閱YouTube頻道: https://youtube.com/c/我要做富翁?sub_confirmation=1
讚好Facebook專頁:https://facebook.com/203349819681082