รู้จัก เคไลฟี ผู้เป็นประธานสโมสรปารีส และ beIN /โดย ลงทุนแมน
พอพูดชื่อ “นาสเซอร์ อัล เคไลฟี” หลายคนอาจสงสัยว่าเขาคือใคร ?
แต่คนที่เคยดูฟุตบอลน่าจะเคยได้ยินชื่อนี้บ้าง
เพราะเขาเป็นประธานสโมสรฟุตบอล ประธานสโมสร ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง (Paris Saint-Germain) ที่ล่าสุดเพิ่งกลายเป็นบ้านหลังใหม่ของ ลิโอเนล เมสซิ
แต่กว่าจะมาเป็นวันนี้ของ นาสเซอร์ อัล เคไลฟี
ชีวิตของเขานั้นไม่ได้ร่ำรวยมาตั้งแต่เด็ก
และยังเคยเล่นเทนนิสเพื่อเลี้ยงตัวเองและครอบครัว
จนได้เป็นนักเทนนิสทีมชาติอีกด้วย
แล้ว อัล เคไลฟี ทำอย่างไร จนก้าวมาเป็นนักธุรกิจที่มีชื่อเสียงในวงการกีฬา
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
นาสเซอร์ อัล เคไลฟี (Nasser Al-Khelaifi) เป็นชาวกาตาร์
เกิดในปี 1973 อัล เคไลฟี เกิดในครอบครัวที่ทำประมงหาเลี้ยงชีพเป็นหลัก
แม้จะไม่ได้เกิดในครอบครัวที่ร่ำรวย แต่ อัล เคไลฟี ก็มุ่งมั่นเล่าเรียน จนจบปริญญาตรีสาขาเศรษฐศาสตร์จาก Qatar University และปริญญาโทด้านพาณิชย์นาวีจาก University of Piraeus
อีกจุดเด่นของ อัล เคไลฟี นอกเหนือจากการศึกษาคือ การเล่นกีฬา โดยเฉพาะเทนนิส ซึ่งกลายเป็นจุดสำคัญของความสำเร็จในชีวิตเขา ในเวลาต่อมา
อัล เคไลฟี เคยได้ดีในการเล่นเทนนิส ถึงขนาดก้าวไปเป็นนักเทนนิสระดับอาชีพ และเป็นตัวแทนทีมชาติกาตาร์ ลงแข่งขันทัวร์นาเมนต์ Davis Cup ซึ่งเป็นการแข่งขันรายการใหญ่ในระดับนานาชาติ
พออายุเริ่มมากขึ้น เขาก็เลิกเล่นในสนาม และมาดำรงตำแหน่งประธานสหพันธ์เทนนิสกาตาร์ในช่วงปี 2008-2011
นอกจากนั้น เขายังได้รับเลือกเป็น รองประธานสหพันธ์เทนนิสเอเชีย (Asian Tennis Federation) แห่งเอเชียตะวันตกอีกด้วย
ด้วยความสนใจ และประสบการณ์ที่คลุกคลีในวงการกีฬาของเขา
ทำให้ อัล เคไลฟี สามารถนำมันมาต่อยอดในการทำธุรกิจด้วยในเวลาต่อมา
จุดเปลี่ยนในชีวิตครั้งสำคัญของเขาเกิดขึ้นในปี 2011 เมื่อเขาได้รับเลือกให้เป็นประธานของ Qatar Sports Investments หรือ QSi ซึ่งเป็นกองทุนที่เน้นลงทุนในอุตสาหกรรมกีฬาและนันทนาการ ทั้งในประเทศการ์ตาและต่างประเทศ
โดย QSi นั้นเป็นส่วนหนึ่งของ Qatar Investment Authority ซึ่งเป็นกองทุนความมั่งคั่งแห่งชาติของกาตาร์ ที่ปัจจุบัน มีทรัพย์สินภายใต้กองทุนมูลค่ากว่า 10 ล้านล้านบาท
ในปีเดียวกับที่ อัล เคไลฟี เข้ามาบริหาร QSi ทางกองทุนก็เข้าไปลงทุนซื้อหุ้นของ ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง (Paris Saint-Germain) สโมสรฟุตบอลอาชีพชั้นนำในฝรั่งเศส
ในเวลานั้น ผู้ถือหุ้นใหญ่ของปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง คือ Colony Capital, Morgan Stanley และ Butler Capital Partners ซึ่งทั้ง 3 บริษัทนั้นเป็นบริษัทจัดการลงทุน โดย 2 รายแรกนั้นเป็นของสหรัฐอเมริกา ส่วนรายหลังนั้นเป็นของฝรั่งเศส
โดยบริษัทจัดการลงทุนกลุ่มดังกล่าว ประกาศที่จะขายสโมสรให้แก่นักลงทุนที่สนใจ เพื่อเข้ามาช่วยทำให้ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง เป็นสโมสรฟุตบอลชั้นนำ
และก็เป็น QSi ที่ได้เข้ามาซื้อหุ้นต่อจากนักลงทุนกลุ่มเดิม โดยใช้เงินลงทุนประมาณ 4,300 ล้านบาท
ต้องยอมรับว่า นับตั้งแต่ที่ อัล เคไลฟี เข้ามาบริหารปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ทำให้สโมสรเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมากขึ้น ทั้งในและนอกสนาม
โดยเฉพาะในเรื่องการตลาดและการโปรโมตสโมสร ซึ่งเรื่องนี้สะท้อนออกมาจากสถิติยอดขายเสื้อฟุตบอลของปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ที่เพิ่มขึ้นหลายเท่าตัวในช่วงที่ผ่านมา
ในปี 2011 เคยขายเสื้อฟุตบอลได้เพียงราว ๆ 250,000 ตัว
ในปี 2019 สโมสรขายเสื้อได้กว่า 1,000,000 ตัว
เขายังถือเป็นส่วนสำคัญในการพยายามเซ็นสัญญานักฟุตบอลชื่อดังระดับโลกหลายคน ให้มาเล่นให้สโมสรอีกด้วย โดยล่าสุดก็คือ ลิโอเนล เมสซิ อดีตกองหน้าชื่อดังจากบาร์เซโลนา
สำหรับหลายคนที่อาจจะไม่ได้ติดตามโลกฟุตบอล ก็อาจจะยังมีคำถามว่า สโมสรปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง แห่งนี้มีความน่าสนใจอย่างไร
ลองมาดูสถิติที่น่าสนใจ ของปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ที่ อัล เคไลฟี เป็นผู้บริหาร
- เป็นสโมสรฟุตบอลที่มีรายได้สูงสุดเป็นอันดับ 7 ของโลก ซึ่งในฤดูกาล 2019-2020 มีรายได้ประมาณ 21,000 ล้านบาท
- เป็นสโมสรฟุตบอลที่มีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 9 ของโลก จากการจัดอันดับของ Forbes โดยมีมูลค่ากว่า 84,000 ล้านบาท
- เป็นสโมสรฟุตบอลที่ทำสถิติซื้อผู้เล่นแพงที่สุดในโลก คือ เนย์มาร์ กองหน้าทีมชาติบราซิล จากบาร์เซโลนา ด้วยมูลค่าประมาณ 8,700 ล้านบาท ในปี 2017
อีกเรื่องที่น่าสนใจคือ ไม่เพียงแต่บริหารสโมสรฟุตบอลเท่านั้น อัล เคไลฟี ยังเป็นประธาน และซีอีโอของ beIN Media Group
โดย beIN Media Group คือ ช่องรายการบันเทิงและกีฬาทางโทรทัศน์ ที่ออกอากาศในตะวันออกกลาง แอฟริกาเหนือ ยุโรป อเมริกาเหนือ ออสเตรเลีย และเอเชีย จำนวนทั้งหมด 43 ประเทศ
beIN Media Group ยังเป็นผู้ได้รับลิขสิทธิ์ในการถ่ายทอดฟุตบอลรายการสำคัญ ๆ ในปัจจุบัน อย่างเช่น ฟุตบอลพรีเมียร์ลีกของอังกฤษ ฟุตบอลยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฟุตบอลโลก 2022 ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024
เป้าหมายของ อัล เคไลฟี คือ ต้องการที่จะสร้าง beIN Media Group ให้กลายเป็นสื่อที่ดังในด้านบันเทิงและกีฬาระดับโลก
และแน่นอนว่า อีกเป้าหมายสำคัญของเขา
ก็คือสร้างปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ที่ยิ่งใหญ่อยู่แล้ว ให้ยิ่งใหญ่ขึ้นไปอีก
จากเรื่องราวชีวิตของ อัล เคไลฟี จะเห็นว่า
แม้ว่า อัล เคไลฟี ไม่ได้เกิดมาจากครอบครัวที่มีชื่อเสียง
แต่เขาสามารถเอาจุดเด่น ความสนใจ และประสบการณ์ในด้านกีฬา
มาต่อยอดในการบริหารธุรกิจสื่อ บริหารทีมฟุตบอล ให้ประสบความสำเร็จได้อย่างดี..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.beinmediagroup.com/
-https://www.forbes.com/teams/paris-saint-germain/?sh=79bf9d4f51f4
-https://en.wikipedia.org/wiki/Nasser_Al-Khelaifi
-https://en.wikipedia.org/wiki/Paris_Saint-Germain_F.C._ownership_and_finances
-https://en.wikipedia.org/wiki/Qatar_Sports_Investments
-https://en.calameo.com/read/005694409c40bbd67d588
-https://en.wikipedia.org/wiki/Al_Jazeera_Media_Network
-https://www.beinsports.com/th/%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B8%81-1/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7/nasser-al-khelaifi-named-as-most-influentia-6/1468678
-https://en.wikipedia.org/wiki/Paris_Saint-Germain_F.C.
-https://en.wikipedia.org/wiki/2022_FIFA_World_Cup_broadcasting_rights
-https://www.premierleague.com/news/2184867
同時也有1部Youtube影片,追蹤數超過60萬的網紅飲食男女,也在其Youtube影片中提到,去希臘蜜月天堂聖托里尼(Santorini),大部人都會由首都雅典出發,想慳錢又慳時間,應該選擇搭船定搭飛機呢? 由雅典搭飛機去聖托里尼只需50分鐘,當然係最快又最方便嘅方法,不過旺季時一票難求,而且票價分分鐘比船票貴兩三倍,所以搭船始終是最多遊客的選擇。在雅典Piraeus港,每日有5、6班船往返...
「piraeus」的推薦目錄:
piraeus 在 Culture Trip Facebook 的最佳解答
Connected via three ports (Piraeus, Rafina and Lavrion), Athens puts you right on the doorstep of many beautiful islands, such as the incredible Kea.
📍Kéa, Kikladhes, Greece
piraeus 在 Eddie Tam 譚新強 Facebook 的最佳解答
中方代表不應出席阿拉斯加峰會
上周在美國阿拉斯加,開了拜登上台後的第一次中美高層會議。今次峰會被形容為針鋒相對,高潮來得很早,就在傳媒面前講的開場白。
美國國務卿布林肯(Antony Blinken)先發言,客氣說話不多,已開始批評中國的所謂人權狀况問題。中共中央外事工作委員會辦公室主任楊潔篪回答亦不假以顏色,直接指出美國不守外交禮節,本以為農曆新年前,美國總統拜登主動打電語給國家主席習近平,向中國人民拜年,是個友善的好開始,所以才答應這次峰會。但竟然在開會前數天,再次以新疆為藉口,宣布對24名中國官員的所謂制裁,明顯是故意侮辱中國。發言中被認為最精彩的一句可能是「你們沒有資格在中國的面前說,你們從實力的地位出發同中國談話,這個老毛病要改一改。」
峰會前制裁中方官員 故意侮辱中國
中國人民反應非常熱烈,覺得中國人終於站起來了,不再像120年前簽署《辛丑條約》時,可被西方隨意侮辱!中國對美國全球霸凌的指摘,對美國本身人權問題的提點都是事實,對新疆和香港人權問題無理指控的解釋,更充滿理據。但西方傳媒完全不感興趣,只會扭曲為討好本國人民的宣傳!為何傳媒有權妄下如此荒謬定論!
會議本身是閉門的,內容沒有公開,亦沒有會後共同宣言或記招。中方只禮貌地說會議坦誠和有建設性,美方說法也差不多,但不忘故意多踩一腳,說當美方提到新疆和香港人權問題時,形容中方反應為意料之內的「defensive」(意指心虛充滿戒心)!
會議的唯一重要結論是美中願意在氣候變化問題上合作,當然是好事。但我已多次指出,解決氣候問題需要維持數十年的長期穩定政策,今天拜登支持,但他連走樓梯都不穩,能否完成任期都是個疑問,莫說下屆總統的政策如何,根本無法預測,特朗普捲土重來都有可能。雙方似乎亦同意繼續對話,亦算好事。
近月中國通、現任亞洲協會會長、前澳洲總理陸克文(Kevin Rudd),不斷警告美中角力,如毫無遊戲規則,隨時擦槍走火,導致世界大戰,所以建議必須把這場龍爭虎鬥放在一個「有管控的戰略競爭」(Managed Strategic Competition)的框架之下。他想理想化地(仍稍偏幫美國)企圖把鬥爭分為3種:
(1)可合作解決的問題。理論上可以和應該合作的地方很多,除氣候變化外,另一迫切危機是處理揮之不去的疫情,已出現多種傳染力更強的變異病毒,全球大部分地區確診再次上升,發達國家自私無比,囤積遠超人口需要的疫苗,大部分貧窮落後國家,只得到中國援助,但仍然遠不足夠,是一場人道災難,嚴重性遠超甚至超過個別種族滅絕!早前美國、日本、印度和澳洲組成的所謂「四方安全對話」(QUAD),舉行領袖視像峰會,同意為亞洲提供10億劑疫苗,是好事,但不害羞地承認此舉出發點只為抗衡中國!
陸克文亦指出,其實值得亦需要中美合作的另一議題是對貧困國家的「債務寬恕」(debt relief)。疫情下,全球經濟衰退,不少國家確無力償還國際貸款,極需要國際貨幣基金組織(IMF)和世界銀行(World Bank)等組織的援助。IMF和World Bank同為二戰後美歐帶領成立,至今仍維持充滿種族歧視的規矩,World Bank總裁永遠是美國人,IMF總裁必須是歐洲人。
既然中國已成為超級強國,怎可繼續接受此無理規限,所以自立門戶,成立了亞洲基礎設施投資銀行(AIIB)和金磚國家開發銀行(BRICS Development Bank)等組織。按照大部分對國際援助有經驗的銀行家所說,中國主導的亞投行和金磚銀行,行政上比IMF、World Bank、國際金融公司(International Finance Corporation)和亞洲開發銀行(Asian Development Bank)等傳統組織更有效率,更專業和更清廉。
世銀IMF滿是官僚與歧視
我念的是Public and Private Management,相信「noblesse oblige」(貴族義務)這句法文格言,所以20年前當我離開投行時,曾考慮轉而投身於這些國際發展銀行,但當我向一些有經驗的朋友請教時,他們異口同聲勸我千萬不可,因為這些機構不止極度官僚,毫無效率,一切政治掛帥,完全按照西方老闆的利益為依歸,貪腐情况更非常嚴重!多謝朋友的提點,後來就放棄了這天真念頭。
1997年亞洲金融風暴,IMF對受到外資急撤嚴重衝擊的亞洲各國的建議是,你們過度揮霍,咎由自取,所以必須勒緊褲頭,極力削減開支。即使導致無數人破產,政府倒台,不少地方如印尼,甚至出現恐怖血腥暴亂,也冷血不理!到了2008年的金融海嘯,主角換為美國和歐洲,IMF和其他國際組織的腔調就完全不一樣,異口同聲贊同和鼓吹極度寬鬆的貨幣和財政政策。去年疫情中,哪一個西方國家的財赤低於GDP的10%?勒緊褲頭?大概這只是肚滿腸肥的西方人,跟營養不良腰圍只有20吋的貧困有色人種,開的玩笑吧!
西方人喜愛無理指控中國的一帶一路發展計劃為經濟侵略,甚至形容為「債務陷阱」(debt trap)外交。之前我已提過希臘前財政部長瓦魯法基斯(Yanis Varoufakis)在一次演說中敘述的一個故事,希臘出售比雷埃夫斯港(Piraeus Port)給中遠,本來條件在他上任前都已談好,但他認為不公平,所以向中方提出修改條款的要求,中方竟大方接受,把部分股權捐給了希臘的退休基金。他問觀眾,如果換轉買方為美國或歐洲機構,會答應嗎?在「寬恕」國際貸款這議題上,我願意打賭,中國必比美國更願意接受,更樂意伸出援手。
國家發展科技 勿扼殺民企發展空間
(2)中美也有很多競爭範疇,包括科技、貿易、投資、貨幣、經濟、外交和軍備等等。重要科技尤其半導體,兩方都有不足之處。中國仍然落後於美國,但美國在製造半導體的技術上,亦已遠遠落後於台灣和韓國,這亦是近年東北亞局勢變得如此緊張的最主要原因。不少美國朋友,包括前國防和外交高官,以及主要投行科技分析師,都記得我是最先提出此重要觀點的。
數年前在中美貿易科技戰尚未正式開始前,我也寫過文章,提到曾在深圳,跟一些華為工程師和管理層交換對中國發展半導體計劃的一些觀察和意見。當時大家都同意全球最重要企業就是台積電,而中國面對的技術瓶頸很多,最主要的包括生產器材和EDA設計軟件等等。更麻煩的是欲速則不達,如清華紫光般大量砸錢投資,也不一定成功,反而招來西方的不安,反而更落力打壓,結果反陷入嚴重財困。
中國仍必須努力自力更生,發展自己的科技,但要提醒一點,國家可以扮演重要角色,尤其在支持大學裏的基本科研,但小心過度扼殺民企的發展空間,應用科技發展上,他們更具創意,效率更高。不止中國,美國的最重要技術發展動力,亦來自企業家,近年最成功例子當然是Tesla創辦人馬斯克(Elon Musk),不止Tesla帶來全球電動車革命,SpaceX發射火箭的技術,亦遠比美國太空總署(NASA)和甚至比中國更先進,Starlink(星鏈)的潛力亦不容忽視。FAAMNG等科技企業,固然有一定壟斷性,但美國幸有這批後浪,才可繼續保住全球經濟、金融、科技和控制傳媒的霸權,的確需要小心考慮如何監管,但美國絕不會不顧後果地把他們打死。中國也必須小心處理龍頭科技公司的監管問題,大不一定就是有罪!
美國續在軍事上耗國力未必是壞事
美國對華政策,採取過時的冷戰思維,重新進行軍備競賽。中國在這方面較冷靜,但仍不斷發展更先進軍備,提升戰鬥力。美國恐嚇世人,中國野心勃勃,國防開支急速增加,但其實中國國防支出非常克制,去年約1800億美元,不到GDP的1.5%,比美國經常投訴支出過低的北約(NATO)盟友如德國的1.57%還要低!美國自己的國防支出接近瘋狂,每年超過7500億美元,近乎無王管,多年漠視國會的核數要求。美國的國防支出是後面10個國家的總和,比十九世紀英國遵行的「兩強標準」(Two-Power Standard)更誇張;美國擁有7000枚核彈,為中國20倍;美國的海外基地800個,中國只有3個。美國塗炭生靈,在阿富汗和中東各地打了20年的forever wars,連繼續打下去的原因都不知道了!
中國千萬不要墮入此冷戰陷阱,讓美國繼續在軍事上消耗國力,也未必是壞事。重要的是中國繼續發展和平的外交政策,只需保護國家安全,拒絕稱霸,更不會無理攻圢其他國家,最終必能贏得道德高地。
(3)陸克文建議美中雙方講清楚自己的核心利益,劃下不可碰犯的紅線,然後要求互相尊重。這建議最不切實際和最危險。中國似乎有點太天真,真的說出紅線,包括中國領土完整,美國不可干預內政和不可質疑中國共產黨領導地位確有廣大人民的支持。美國聰明得多,布林肯把這第三類範疇形容為adversarial(對抗)關係,在所謂新疆、西藏和香港人權,以及台灣問題上,必定會繼續發言和增加壓力,這些不就是中國定性為不可碰犯的紅線!
中方也有提到BLM問題,批評美國人權狀况,但布林肯狡猾地自辯美國從沒有自稱完美,且引用《美國憲法》的前言,永遠在追求「more perfect union」(更完美聯邦)。多漂亮的高調,但只是完美BS,完全解決不了美國面對的實際危機,無日無之的恐怖槍殺案,和日益嚴重的歧視和襲擊亞裔人士問題等等。美國聰明地不願說出美國的真正紅線──過時反民主體制,令到美國在過去30年,不管民主黨或共和黨掌政,已淪為一個充滿不公、仇恨、怨氣,貧富懸殊加劇,人均壽命下跌,由一小撮權貴操控的「金權政治」(plutocracy)社會!
近年未邀中國領導人訪美 於禮不合
有人問我,怎樣評價中國在阿拉斯加峰會的表現。我也同意表現不錯,有點火藥味,但說出了一些重點,亦達到某些效果。但我的建議是不應答應去阿拉斯加參加峰會,應堅決要求美國來中國開會。
首先從外交禮儀上,上次是去年6月跟時任國務卿蓬佩奧(Mike Pompeo)的峰會,已在夏威夷舉行,禮尚往來,即使拜登是新上任總統,今次峰會實應在中國舉行;加上在整個特朗普4年任期內,從未邀請中國領導人去美國作國事訪問,但特朗普上任不久,習主席和夫人給足面子,去了佛羅里達州海湖莊園(Mar-a-Lago)作友善家訪。後來亦邀請了特朗普到中國作正式國事訪問,規格上非常隆重。
之後美國發動貿易戰,中國領導人回訪美國一事就被擱置了,後來特朗普女婿庫什納(Jared Kushner)想當和事佬──他老婆伊萬卡(Ivanka Trump)跟鄧文迪為閨密,企圖安排習主席再度訪問佛州。在一次2018年華盛頓峰會上,偶然碰到他,私下交談中,我直言此舉於禮不合,必須邀請習主席到華盛頓作正式國事訪問。但隨着關係惡化和疫情爆發,此事也不了了之。
中國應制裁美國涉中東政策官員
中國不應出席阿拉斯加峰會的更重要原因是主客發言次序的問題。如今次峰會在中國舉行,作為主人家,必然是先發言的一方,亦即是有寶貴的主動權。我建議提出的第一點應是為中東伊斯蘭教徒發聲,質詢為何美國20年來不停濫殺和打壓阿富汗、伊拉克、敘利亞和北非等無辜人民,死傷人數過百萬,因此而失去家園的難民數百萬!中國甚至應宣布對掌管中東政策的美國外交和軍方官員,作出一些制裁。
即使西方傳媒偏頗,總要報道主人家的第一句開場白,亦不可以形容為defensive吧!
(中環資產持有台積電、Tesla、Apple、Amazon、Microsoft、Netflix及Google的財務權益)
中環資產投資行政總裁
piraeus 在 飲食男女 Youtube 的最佳貼文
去希臘蜜月天堂聖托里尼(Santorini),大部人都會由首都雅典出發,想慳錢又慳時間,應該選擇搭船定搭飛機呢?
由雅典搭飛機去聖托里尼只需50分鐘,當然係最快又最方便嘅方法,不過旺季時一票難求,而且票價分分鐘比船票貴兩三倍,所以搭船始終是最多遊客的選擇。在雅典Piraeus港,每日有5、6班船往返聖托里尼,快船航程5小時,慢船就由8小時至10小時不等,視乎中途站多少而定。某些日子更有通宵船選擇,半夜上船瞓一覺,第二朝一早落船即可以繼續玩,慳時間又慳番晚酒店房錢,最啱精打細算的trip精!
Blue Star Ferries
網址: http://www.bluestarferries.com
採訪:Fanny Seto@三木創作
拍攝:Achi Leung@三木創作
===================================
立即Subscribe我哋YouTube頻道:http://bit.ly/2Mc1aZA (飲食男女)
新店食評,名家食譜,一App睇晒!
立即免費下載飲食男女App: http://onelink.to/etwapp
《飲食男女》Facebook:http://www.facebook.com/eatandtravel
飲食男女網站:http://etw.hk
Follow我哋Instagram,睇更多靚片靚相:http://bit.ly/2J4wWlC (@eat_travel_weekly)
piraeus 在 piraeusdatastore/piraeus: High Available Datastore for ... 的推薦與評價
Piraeus is a high performance, highly-available, simple, secure, and cloud agnostic storage solution for Kubernetes. The Piraeus Project consists of: A Helm ... ... <看更多>