รู้จัก Ant Group เจ้าของ Alipay / โดย ลงทุนแมน
“Ant Group” หรือชื่อเดิมคือ “Ant Financial Services Group”
หลายคนอาจจะแค่เคยได้ยินผ่านๆ หรือไม่รู้จักเลยด้วยซ้ำ
แต่รู้หรือไม่ นี่คือเจ้าของ “Alipay”
แอปชำระเงินและศูนย์รวมบริการออนไลน์ของคนจีน
ความเป็นมาของบริษัทนี้เป็นอย่างไร
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
อัปเดตสถานการณ์และภาวะเศรษฐกิจกับ Blockdit
มีพอดแคสต์ให้ฟังระหว่างเดินทางด้วย
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
จุดเริ่มต้นของเรื่องนี้ คือการเกิดขึ้นของ Alibaba Group ในปี 1999
ธุรกิจแพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซของ Jack Ma มหาเศรษฐีชาวจีน
พอแพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซของ Alibaba เริ่มเติบโตขึ้น
Jack Ma จึงอยากให้มีระบบชำระเงิน และเทคโนโลยีด้านการเงิน
มาช่วยส่งเสริม และรองรับการซื้อขายบนโลกออนไลน์
ในปี 2004 “Alipay” จึงถือกำเนิดขึ้น
เป็นระบบชำระเงินผ่านช่องทางออนไลน์
เพื่ออำนวยความสะดวกให้ผู้ใช้แพลตฟอร์มของ Alibaba
Alipay เริ่มจากการพัฒนาระบบชำระค่าสินค้าผ่านเว็บไซต์ในช่วงแรก
ต่อมาในปี 2008 สามารถขยายไปชำระค่าสาธารณูปโภค
เช่น ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ผ่านช่องทางออนไลน์
และได้เปิดให้บริการชำระค่าบริการต่างๆ
ในรูปแบบ “Mobile Payment” อย่างเป็นทางการ ในปี 2009
จุดเปลี่ยนสำคัญของเรื่องนี้ คือในปี 2011
Alipay ได้แยกตัวออกมาจาก Alibaba
เพื่อตั้งเป็นหน่วยงานที่โฟกัสเรื่องของโครงสร้างและระบบการชำระเงินโดยเฉพาะ
จนในปี 2014 หน่วยงานที่แยกออกมานี้
ก็ก่อตั้งเป็นบริษัทอย่างเป็นทางการ ชื่อว่า “Ant Financial Services Group”
และปัจจุบันได้เปลี่ยนชื่อใหม่อีกครั้งเป็น “Ant Group”
โดยที่ Ant Group ไม่เพียงแต่เป็นเจ้าของ Alipay เพียงอย่างเดียว
ยังมีบริการอื่นอีก เช่น ให้สินเชื่อรายบุคคล และ SMEs, บริการเกี่ยวกับการลงทุน (Wealth Management), ธนาคารออนไลน์, ประเมินเครดิต และบริการคลาวด์สำหรับจัดเก็บข้อมูลของธุรกิจ
แต่ในบรรดาบริการต่างๆ Alipay จะเป็นส่วนที่สำคัญที่สุด
ปัจจุบันมีผู้ใช้งานมากกว่า 1,000 ล้านบัญชี
ซึ่งคนจีนใช้จ่ายผ่านแอปฯ นี้ แทนการใช้เงินสดไปแล้ว
จะเห็นว่า หลายร้านค้าในไทย มีการรองรับการจ่ายด้วย Alipay
เพราะคนจีนเดินทางมาท่องเที่ยวที่ไทยจำนวนมาก
และนอกจากการใช้ชำระค่าสินค้าแล้ว
คนจีนยังสามารถทำได้แทบทุกอย่างใน Alipay
เช่น เรียกแท็กซี่, ซื้อตั๋วหนัง, จองโรงแรม ไปจนถึงนัดพบหมอ
นอกจากบริการที่ว่ามาทั้งหมดนี้แล้ว
Ant Group ยังร่วมลงทุนและเป็นพาร์ตเนอร์
กับบริษัทสตาร์ตอัป และบริษัทเทคโนโลยีทางการเงินทั่วโลก
เช่น Paytm ผู้ให้บริการชำระเงินออนไลน์รายใหญ่ของอินเดีย
KakaoPay ผู้ให้บริการชำระเงินออนไลน์ในเกาหลีใต้
ZhongAn Online P&C Insurance บริษัทประกันออนไลน์เต็มรูปแบบในจีน
โดยหนึ่งในนั้นก็คือ Ascend Money
บริษัท Fintech ของกลุ่มเจริญโภคภัณฑ์ (CP) ในประเทศไทย
เจ้าของ TrueMoney Wallet ที่เรารู้จักกัน
ซึ่งก็ต้องบอกว่า ธุรกิจทั้งหมดในเครือ Ant Group
มีไว้เพื่อคอยสนับสนุนธุรกิจของ Alibaba Group
ในแง่ของบริการ และโครงสร้างของระบบการเงินแทบทั้งสิ้น
ทีนี้มาดูผลประกอบการของ Ant Group ในปีงบประมาณ 2019
รายได้ 542,000 ล้านบาท
กำไรสุทธิ 77,000 ล้านบาท
ซึ่งจากการระดมทุนรอบล่าสุดในปี 2018
Ant Group ถูกตีมูลค่าไว้สูงถึง 4.7 ล้านล้านบาท
แต่ล่าสุดปี 2020 Ant Group กำลังเตรียมที่จะเข้าตลาดหลักทรัพย์
โดยคาดกันว่ามูลค่าบริษัทอาจสูงถึง 6.3 ล้านล้านบาท
เรื่องที่น่าสนใจอีกเรื่องก็คือ Alibaba Group Holding
ถือหุ้นใน Ant Financial Services Group อยู่ 33%
หลังการระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์แล้ว
คงได้เห็น Ant Group เดินหน้าลงทุนขยายธุรกิจมากขึ้นอีก
และไม่แน่ว่าในอนาคต เราอาจจะได้เห็นบริการจาก Ant Group
ขยับขยายเข้ามาในไทยมากขึ้น ก็เป็นได้..
╔═══════════╗
อัปเดตสถานการณ์และภาวะเศรษฐกิจกับ Blockdit
มีพอดแคสต์ให้ฟังระหว่างเดินทางด้วย
Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - ลงทุนแมน
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
References
-https://www.antfin.com
-Alibaba Group Holding Limited. FY 2020 Annual Report.
-https://www.alibabagroup.com/en/ir/pdf/160614/12.pdf
-https://www.cnbc.com/2020/07/20/chinas-ant-financial-to-go-public-in-dual-shanghai-hong-kong-listing.html
-https://techsauce.co/tech-and-biz/ant-financial-plans-to-ipo-in-hongkong-next-year
-https://www.reuters.com/article/us-ant-financial-ipo-exclusive/exclusive-alibabas-ant-plans-hong-kong-ipo-targets-valuation-over-200-billion-sources-say-idUSKBN2491JU#:~:text=It%20won%20regulatory%20approval%20in,financial%20documents%20seen%20by%20Reuters.
p&c insurance 在 君子馬蘭頭 - Ivan Li 李聲揚 Facebook 的最讚貼文
[保險公司最開心]封晒城,冇得外遊,邊有得claim 車險?
WSJ原文:Staying Home Is No Burden for Insurers (https://on.wsj.com/2D1gCVj)
TL:DR – 封晒成,車都冇得開,邊使賠錢?同樣道理,工都冇得返,邊會有工傷?亦同樣道理,冇得去旅行,旅遊保險就有殺無賠啦
話時話,呢排記得keep 住like and share,主動入嚟睇,同埋設定做see first.真係搵食艱難。但感激大家,Keep住做,呢排啲Reach係好返好多的,但唔好鬆懈。一個都不能少呀
1. 不過篇文係講財險,即係non-life,P&C(Property and casualty),又名GI(general insurance),人壽保險另計。
2. 呢個圖係Travelers美國其中一間最大嘅保險公司,道指成份股(*)。佢嘅車險combined ratio。車險就當然係P&C入面最大(應該係)業務。
3. 拿,又學嘢啦。P&C冇人壽保險咁煩,車險呀勞工保呀,年年清。冇乜時間性,所以「承保利潤」好簡單,就係收保金,減賠錢,減埋啲租呀人工呀之類。但當然保險公司仲有好重要嘅方法賺錢(**)
4. 咁車險嘅combined ratio,好簡單,loss ratio + expense ratio。前者係100蚊保金你賠幾多錢出街,後者係100蚊保金你開支幾錢。Combined ratio咪100保金你總”開支”幾多,有剩就係你嘅利潤—當然仲加埋投資。而財險公司一般都係短期投資。Asset liability match 嘛,啲單年年清,投資都係。
5. 相反人壽公司就另一種玩法,不能用呢種方法。否則你都估到:我頭嗰幾年,一定”賺錢”,因為個個買都未死,我好進取都得。但之後到死人時你有冇得賠?所以就唔係以上咁簡單。而因為一份保險N咁長,人壽保險股亦唔係睇純利(講過幾次),人壽保險公司啲投資亦要長期。Match返個負債(將來要賠畀你)嘛。
6. 講返Travelers嘅車險combined ratio,你見到第二季跌到84.2%—即係100蚊保金,賠加埋開支先84個2。凈執你16個8—未計投資或交稅或其他嘢。但唔係重點,重點係見到,個combined ratio跌到好低,之前一兩年都係90%以上,即係而家相當好賺。
7. 原因?咁不外乎開支同理賠。就梗係理賠賠得少咗。點解?估都估到,車險,都冇人開車,冇人出街,邊有得撞。同樣地,勞工保嘅,都冇得返工,冇得工傷,唔使賠(當然你WFH撞到頭我就唔知點計)
8. 所以,疫情對財險,真係好東西呀!如果淨做車險應該幾發(係咪可以留意下中國財險?雖則都有其他嘢,但我記得車險佔好重)。
9. 不過當然啦,就唔係咁簡單。Travelers仲有做health insurance,嗰啲就賠唔少錢啦。就唔在combined ratio 入面。所以整體呢,Travelers都仲係要蝕錢嘅。
10. 仲有樣嘢,可以另外講,話有個social inflation嘅現象:即係咩麥當勞咖啡淥親阿婆呀,你在商場跣低咗告地產商呀之類。多左人去告,亦都多咗告得成,賠錢(法庭決定)亦都多咗。但未必同肺炎有直接關係。由於仲係輸緊錢,所以Travelers係講加價的。
11. 篇文冇講,但我有理由相信,旅遊保險都係。因為有啲友,係買足一年嘅。例如我。咁我其實今年只去咗一次旅行(嚴格其實係出trip),剩返半年都未必有得去,即係保險公司白賺,有殺無賠了。
12. 最後,Travelers股價,年頭140蚊,跌到3月尾80蚊,跌四成幾,都幾勁。應該係擔心投資損失?但之後彈返五成,120蚊。咁而家年初至今跌約14%左右,正路水平。(係喎,跌四成幾彈返五成,係仲未返原位的)
13. 拿,變返財經台啦,唔係趙榮德上身了。唔講DSE了。又睇下點?又,有人以為我好關心收視,錯啦—其實$最重要。但當然兩者有關係。
(*)道指就只得呢間「保險股」,最有趣係,Travelers曾經係花旗集團,後來分拆咗。而Travelers係2009年,金融海嘯後成為道指成份股 — 正係取代咗花旗。
(**)其實承保利潤負數唔少見,甚至人壽都係咁。大陸公司有一期都唔少見。固然點分啲開支係一個問題,但好多時的確承保可以蝕錢—咁保險公司賺乜?拎你啲錢去投資嘛。否則你以為你啲錢點嚟?你供嘅保險金,應該加埋冇你死嗰日賠返嘅錢咁多。亦解釋到點解A股喪炒時,大陸啲保險公司唔介意負數承保利潤—拎你舊錢去炒股賺返晒啦。吸到錢就得。
-------------------------------------------------------------------------
香港聯匯何去何從?新收費片已出,講足一個鐘,單次買200
想睇簡介嘅,呢度。亦有埋以前嘅片,有興趣可訂:https://bit.ly/3iYMD0F
報名嘅,呢度。今次課程編號填 CC005。唔想填信用卡亦可以FPS: https://bit.ly/3j0r9QZ
Log in 呢度:https://bit.ly/3gYXu9e
已付費嘅,log in後按最頂「按此觀看」就得。再唔係返呢度睇:https://bit.ly/3fyKbw0
仲搞唔掂嘅,睇埋下面,或者搵客服,或者PM我。
-------------------------------------------------------------------------------
【最新李聲揚收費影片】題目:「聯繫匯率會否脫勾?散戶應如何應對?」
影片/課程編號:CC005
播放平台:https://homebloggerhk.com/web-class-player/
付款及收看步驟:
1/點擊報名收看 [影片/課程編號:CC005]
2/利用信用卡網上付款
3/及後有登入資料可以立即收看
查詢:whatsapp 63832145
p&c insurance 在 What Is Property And Casualty Insurance? 的相關結果
Property and casualty insurance refers to types of coverage that protect the things you own (like your home, car, and other belongings, or even your pets). ... <看更多>
p&c insurance 在 Property & Casualty (P&C) Insurance Services - Accenture 的相關結果
Accenture's Property and Casualty (P&C) insurance services drive digital transformation with innovative technologies, software and solutions. Learn more. ... <看更多>
p&c insurance 在 What is Property and Casualty Insurance? | Allstate 的相關結果
Property insurance and casualty insurance (also known as P&C insurance) are types of coverage that help protect you and the property you own. ... <看更多>