"แอ็ดส์เคอร์ ไดก์สตรา" ได้ให้ คำคมที่ลึกซึ้งกินใจ #โปรแกรมเมอร์ ว่า
“If debugging is the process of removing software bugs ,then programming must be the process of putting them in.”
แปลเป็นไทยได้ว่า
“ถ้าการดีบักคือ กระบวนการเอาบั๊กซอฟแวร์ออกไปละก็ …
เมื่อนั้นการเขียนโปรแกรมต้องเป็น กระบวนการใส่บั๊กเข้าไปแน่ ๆ”
++++รู้ไว้ใช่ว่า ใส่บ่าแบกหาม++++
ประวัติ Edsger Dijkstra (แอ็ดส์เคอร์ ไดก์สตรา)
เขาเป็นนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ชาวดัชต์
ที่สร้างคุณานุประโยชน์ แก่วงการคอมอย่างมาก
เกิดเมื่อค.ศ. 1930 และเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเมื่อ 6 ส.ค. 2002
รวมอายุได้ 72 ปี
เขาจบดอกเตอร์ทางคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ ที่ University of Amsterdam เมื่อปี 1959
ปี 1972 ได้รับรางวัล "ACM Turing Award"
และปี 1984 ได้เป็นศาสตราจารย์ที่ Uninversity of Texas at Austin
ผลงานของเขา ที่คนเรียนสายคอมทุกคน ต้องรู้จักคือ
“Dijkstra’s algorithm”
ตำราเรียนอาจแปลว่า "ขั้นตอนวิธีของไดก์สตรา" (คุ้น ๆ ใช่มั๊ยละ)
มันเป็นวิธีแก้ปัญหาเรื่อง shortest path หรือก็คือหาระยะทางสั้นที่สุด จากจุดหนึ่งไปยังจุดใด ๆ ในกราฟ นั่นเอง
(ถ้าไม่รู้จักแสดงว่าโดดเรียน และทำข้อสอบไม่ได้นะ)
ผลงานดังอีกชิ้น ที่เราต้องเคยเรียนคือ
การแก้ปัญหาการกินอาหารของนักปราชญ์
หรือชื่อภาษาอังกฤษคือ "dining philosophers problem"
+++ส่วนผลงานดังด้านอื่น ๆ+++
-เป็นหัวหน้าทีมคิดค้นระบบ OS ที่เรียกว่า “THE” Multiprogramming System
-คิดค้นหลักการ Semaphore
-เป็นผู้เขียนบทความ “Go To Statement Considered Harmfull” จนปลุกกระแสต่อต้านคำสั่ง Goto ในยุคนั้น
-เขียนหนังสือ “A Discipline of Programming” ซึ่งรวบรวม Algorithms ที่ตัวเขาเองคิดค้น
-แต่งหนังสือร่วมกับ C. A. R. Hoare Ole-Johan Dah ชื่อหนังสือคือ “Structured Programming”
นอกจากนี้แล้ว เขายังเป็นผู้บุกเบิกศาสตร์ทางคอมหลายเรื่อง ยิ่งคนจบคอมมา ล้วนเคยเรียน หรือเคยอ่านผ่านตามาทั้งสิ้น ได้แก่
Distributed Computing, Compiler Writing, Heuristics, stream, Computer Hardware Design, Dining Philosopher, Software Configuration Management, Sorting Algorithms, Fast Fourier Transform, Deadlock, Concurrent Programming, Garbage Collection, Memory Design, AI: Pattern Matching, Graph Theory, Scope of Variables, Transaction และอื่นๆ อีกมากกว่า 1,000 บทความ
อ่านเพิ่ม -> http://www.patanasongsivilai.com/…/การเขียนโปรแกรม-คือการใ…/
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「multiprogramming」的推薦目錄:
- 關於multiprogramming 在 โปรแกรมเมอร์ไทย Thai programmer Facebook 的最讚貼文
- 關於multiprogramming 在 誠實大叔 張誠博士 Facebook 的精選貼文
- 關於multiprogramming 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳解答
- 關於multiprogramming 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
- 關於multiprogramming 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
- 關於multiprogramming 在 Do multiprogramming Operating systems have preemption ... 的評價
multiprogramming 在 誠實大叔 張誠博士 Facebook 的精選貼文
【謝謝老師.... C. L Liu 】
謝謝您送我女兒她的第一輛腳踏車,我記得您將腳踏車送到我家時,我女兒興奮的模樣。
謝謝您在台海導彈危機時,回到台灣,拜訪我的父母,問他們需要甚麼樣的幫助,也告訴他們,我在美國一切都很好。
我還記得,我拿您的著作請您簽名時,您的尷尬 (那本書是我修「組合數學」的課本,是一本翻印書,書的內頁寫著「 歡迎翻印 功德無量」)
我也記得您在清華大學校長任期快結束時,您私底下跟我說,若您有機會擔任國防大學校長,您將會如何的充實國軍,因為您父親是空軍上校退伍的軍官,您想要回饋國家。
謝謝您在我壓力最大的時候,鼓勵我換個態度來面對問題。
我現在看事情的觀點、陳述事情的結構,都是您在沒有壓力的狀況下,淺移默化我的。
跟您學到最有價值的是,不要給別人壓力,幫人設定目標。
謝謝您幫助我順利取得博士學位,很榮幸成為您的學生,希望我沒有讓您失望。
----------------------------
(摘自內文)
劉炯朗院士自 1960 年代開始投入於即時系統、電腦輔助設計、VLSI 布局、組合最佳化、離散數學等領域,在這些領域都享有極高的學術成就,其於 1973 年發表在 Journal of the ACM 之論文「Scheduling Algorithms for Multiprogramming in a Hard-Real-Time Environment」,至今已被引用超過一萬多次。
劉炯朗院士,作育英才,曾任美國伊利諾大學香檳校區(UIUC)助理副校長,於 1998 回台接掌清華大學校長,直至 2002 年卸任。圖靈獎唯一的華人得主姚期智是其門生。此次榮獲 ACM/SIGDA 先驅成就獎,不啻為對他整個學術生涯與高等教育貢獻上的再一次肯定。
張誠
http://technews.tw/…/chung-laung-liu-sigda-pioneer-achieve…/
multiprogramming 在 Do multiprogramming Operating systems have preemption ... 的推薦與評價
... <看更多>