กรณีศึกษา LeBron James นักบาสที่ทำธุรกิจ ระหว่างเล่นบาส /โดย ลงทุนแมน
“LeBron James” ถูกยกย่องให้เป็นตำนานบาสเกตบอล NBA
แม้ว่าปัจจุบันเขาก็ยังคงลงสนามแข่งขันอยู่
ซึ่งนอกจากในด้านกีฬาแล้ว รู้หรือไม่ว่าเขายังเป็นเจ้าของและได้เข้าไปลงทุนในอีกหลายธุรกิจ
รวม ๆ กันแล้ว มีมูลค่าระดับหมื่นล้านบาท
แต่กว่าที่เขาจะประสบความสำเร็จทั้งด้านการแข่งขันกีฬาและธุรกิจ
ในวัยเด็ก LeBron James ก็เรียกได้ว่ามีต้นทุนติดลบตั้งแต่เกิด
แล้วเขาเปลี่ยนต้นทุนติดลบให้ประสบความสำเร็จได้อย่างไร ?
ลงทุนแมนจะเล่าให้ฟัง
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
LeBron James เกิดในปี ค.ศ. 1984 ที่เมืองเอกรอน รัฐโอไฮโอ
เขาเกิดในขณะที่แม่ของเขามีอายุเพียง 16 ปีเท่านั้น
ส่วนพ่อของเขาก็ติดคุกและไม่เคยได้พบหน้ากันตั้งแต่เด็ก
นอกจากปัญหาของพ่อแม่แล้ว ชีวิตในวัยเด็กของเขาถือว่ามีต้นทุนที่ติดลบกว่าเด็กคนอื่น ๆ อย่างมาก
เริ่มตั้งแต่เมืองที่เขาเกิด..
ในการสำรวจจัดอันดับเมืองที่น่าหดหู่ที่สุดในประเทศสหรัฐอเมริกา
เอกรอน คลีฟแลนด์ และอีกหลายเมืองในรัฐโอไฮโอ มักจะติดอันดับต้น ๆ อยู่เสมอ
ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสภาพเศรษฐกิจที่ไม่สู้ดีนัก ปัญหาคอร์รัปชัน ไปจนกระทั่งความล้มเหลวทางการกีฬา
ที่ไม่สามารถคว้าแชมป์ในกีฬาประเภทใดได้เลยมายาวนานกว่า 50 ปี
ชีวิตในวัยเด็กของเขาก็ถือว่าน่าหดหู่ไม่แพ้กัน
ด้วยความที่แม่ของเขาต้องเปลี่ยนงานอยู่บ่อยครั้ง จึงไม่มีเงินมากพอที่จะจ่ายค่าเช่าบ้าน
ทำให้ทั้งแม่และตัวเขาเองในวัย 3 ขวบไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง
ต้องคอยอาศัยโซฟาในบ้านของคนรู้จักเป็นที่หลับนอนยาวนานกว่า 6 ปี
ซึ่งก็มีอยู่หลายบ้านด้วยกันที่เขาเคยย้ายเข้าไปอยู่ โดยในปี ค.ศ. 1993 เขาเคยย้ายที่อยู่ 5 ครั้งใน 3 เดือน
ในขณะที่ James เองสมัยเรียนอยู่เกรด 4 ก็เคยขาดเรียนกว่าร้อยวันจากปัญหาสภาพจิตใจและเรื่องรอบตัว
ถึงแม้จะเกิดมาด้วยต้นทุนที่ติดลบ แถมยังอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เต็มไปด้วยปัญหายาเสพติดและอาชญากรรม แต่ความพิเศษหนึ่งที่ติดตัวเขามาด้วยนั่นคือร่างกายที่พิเศษกว่าใคร
ในปี ค.ศ. 1993 James ในวัย 9 ขวบ มีส่วนสูงเกือบเท่ากับแม่ของเขาคือ 165 เซนติเมตร วิ่งเร็วและแข็งแรงถึงขั้นที่เรียกได้ว่าผิดปกติจากเด็กทั่วไป และในตอนนั้นเองที่เขาได้รู้จักกับ Bruce Kelker โค้ชอเมริกันฟุตบอลที่กำลังจะตั้งทีมขึ้นมาแข่งในระดับประถม
ซึ่ง Kelker ได้ดึงตัว James เข้าทีมและอาสารับผิดชอบค่าใช้จ่ายทุกอย่างของเขาและได้ชวนสองแม่ลูกมาอาศัยอยู่บ้านเดียวกันกับเขา
ในปีแรกที่ James ลงแข่ง เขาทำทัชดาวน์ไปถึง 17 ครั้งภายใน 6 เกมที่ลงแข่งขัน ความสามารถและร่างกายของเขาโดดเด่นถึงขนาดที่ว่าโค้ชของทีมตรงข้ามต้องขอดูสูติบัตรเพราะสงสัยว่า James อาจจะโกงอายุเพื่อลงมาเข้าแข่งขัน
ต่อมา James และแม่ของเขามีความจำเป็นต้องย้ายบ้านอีกครั้งและตัวเขาได้ย้ายไปอยู่กับเพื่อนของโค้ช Kelker ที่ได้กลายมาเป็นโค้ชสอนบาสเกตบอลคนแรกของเขาชื่อ “Frankie Walker”
James จึงได้เรียนรู้การเล่นบาสเกตบอล และด้วยวินัยที่ยอดเยี่ยม บวกกับความตั้งใจในการฝึกซ้อม ฝีมือการเล่นบาสเกตบอลของ James ก็ได้พัฒนาแบบก้าวกระโดด
ต่อมา ฝีมือและชื่อเสียงของ James เริ่มมีมากขึ้นและโด่งดังไปไกลระดับประเทศ ถึงขนาดที่ว่า ESPN สื่อกีฬายักษ์ใหญ่ของสหรัฐอเมริกาต้องถ่ายทอดสดการแข่งขันระหว่างทีมของเขาและ Oak Hill Academy ซึ่งเป็นทีมเต็งแชมป์ระดับประเทศ
โดยการถ่ายทอดสดครั้งนี้ นับเป็นการถ่ายทอดเกมบาสเกตบอลระดับมัธยมเป็นครั้งแรกของ ESPN ในรอบ 13 ปี และ James ก็ไม่ได้ทำให้ผิดหวัง เพราะเขาเป็นตัวหลักที่พาทีมเอาชนะทีมเต็งแชมป์ท่ามกลางสายตาของชาวอเมริกันทั่วประเทศ
และแล้ว ช่วงเวลาที่เขาได้กอบโกยเงินจำนวนมหาศาลก็มาถึง
ในปี ค.ศ. 2002 James ในวัย 18 ปีเป็นที่สนใจของสื่อทั่วประเทศ ทั้งดารา นักบาสเกตบอลชื่อดัง หรือแม้แต่ผู้ร่วมก่อตั้งแบรนด์เสื้อผ้ากีฬา Nike อย่าง Phil Knight ก็ยังต้องมาดูเขาแข่งที่ข้างสนาม
ในตอนนั้นมีแบรนด์รองเท้ายักษ์ใหญ่ 3 แบรนด์รอที่จะเซ็นสัญญากับเด็กหนุ่มวัย 18 ปีคนนี้ ก่อนที่เขาจะถึงคิวเข้าคัดเลือกสู่ NBA ในปี ค.ศ. 2003 โดยมีทั้ง Adidas Reebok และ Nike ที่เข้าคิวรอเจรจากับ James
ซึ่ง James ก็เรียกได้ว่ามีดีเอ็นเอของความเป็นนักธุรกิจอยู่ในสายเลือดเลยทีเดียว เพราะเขาจะใส่ชุดกีฬาของ Adidas ทุกครั้งที่ไปออกงานของ Nike และจะเลือกใส่ชุดของ Nike ทุกครั้งที่ไปงานของ Adidas ส่งผลให้ไม่มีใครคาดเดาได้ว่าเขาจะเลือกเซ็นสัญญากับแบรนด์ไหน
ซึ่งวิธีการนี้เองก็ทำให้แต่ละแบรนด์ต่างทุ่มเงินจำนวนมหาศาลเพื่อเจรจากับ James
Adidas เสนอสัญญามูลค่า 1,800 ล้านบาท
Nike เสนอสัญญามูลค่า 2,700 ล้านบาท
Reebok เสนอสัญญามูลค่า 3,450 ล้านบาท พร้อมจ่ายเป็นเช็คเงินสดทันที 300 ล้านบาท
อย่างไรก็ตาม James ต้องการเลือก Nike ตั้งแต่แรกอยู่แล้ว เพราะต้องการเดินตามรอยนักบาสเกตบอลระดับตำนานอย่าง Michael Jordan ที่ได้สร้างธุรกิจแบรนด์ชุดกีฬาเป็นของตัวเองขึ้นมาร่วมกับ Nike
นั่นจึงทำให้ในปี ค.ศ. 2003 เขาตัดสินใจเซ็นสัญญากับ Nike ซึ่งสัญญาดังกล่าวมีมูลค่ามากกว่าซูเปอร์สตาร์คนดังอย่าง Kobe Bryant ที่ได้สัญญาจาก Nike เสียอีก โดยในปีนั้นมีนักกีฬาเพียง 3 คนทั่วโลก ที่มีรายได้จากสปอนเซอร์มากกว่าเขา
สุดท้ายแล้วการเลือก Nike ในครั้งนั้น ก็นำไปสู่การต่อสัญญาสปอนเซอร์มูลค่ามหาศาลที่คาดการณ์กันว่าสูงถึง 30,000 ล้านบาท ในปี ค.ศ. 2015 ซึ่งนับเป็นสัญญาตลอดชีพสัญญาแรกของ Nike ตั้งแต่ก่อตั้งบริษัทขึ้นมา
นอกจาก Nike แล้ว หลากหลายแบรนด์ระดับโลกต่างก็ต้องการเซ็นสัญญากับ James อย่างเช่น McDonald’s, Coca-Cola หรือแม้แต่ Intel บริษัทผู้ผลิตชิปคอมพิวเตอร์..
แล้วอะไรกัน ที่ทำให้ James ต่างจากนักกีฬาส่วนใหญ่ ?
หนึ่งในสิ่งที่ทำให้เขาแตกต่างจากนักกีฬาชื่อดังคนอื่น ๆ
ก็คือ James เป็นนักกีฬาที่ชื่นชอบในด้านธุรกิจและการลงทุน
ยกตัวอย่างเช่น ในปี ค.ศ. 2006 หูฟังยี่ห้อ Beats by Dre ได้ถือกำเนิดขึ้น
และผู้ก่อตั้งอย่าง Dr. Dre แรปเปอร์ชื่อดังต้องการร่วมมือกับ James ในการโปรโมตสินค้า
แทนที่ James จะรับเป็นสปอนเซอร์ให้กับบริษัท แต่สิ่งที่ James ทำก็คือเขาได้ยื่นข้อเสนอเพิ่มเติมในการขอเป็นหุ้นส่วนในบริษัทเข้าไปด้วย
โดยหลังจากได้เข้ามาเป็นหุ้นส่วนกัน James ก็ได้เอาตัวเองเป็นช่องทางการตลาด
ซึ่งในช่วงกีฬาโอลิมปิกที่ประเทศจีน เขาได้แจกหูฟังให้กับเพื่อนร่วมทีมชาติทุกคนที่ร่วมแข่ง
ทำให้ปรากฏภาพนักกีฬาบาสเกตบอลทีมชาติสหรัฐอเมริกาทั้ง 15 คน ที่ไม่ว่าจะอยู่ในหมู่บ้านนักกีฬา ตอนซ้อม หรือสถานที่ท่องเที่ยวในเมือง ก็จะมีหูฟัง Beats by Dre คล้องคออยู่เสมอ
จุดนี้เองที่ทำให้หูฟังแบรนด์ Beats by Dre กลายเป็นที่พูดถึงไปทั่วโลกและเมื่อบริษัทถูกซื้อโดย Apple ในปี ค.ศ. 2014 ทำให้ James ได้รับส่วนแบ่งจากการขายกิจการดังกล่าวไปกว่า 900 ล้านบาท
อีกการลงทุนที่น่าสนใจคือ การลงทุนในร้านพิซซาแบรนด์ Blaze Pizza ในปี ค.ศ. 2012
ด้วยเงินลงทุน 30 ล้านบาทในขณะที่ร้านยังมีเพียงแค่ 1 สาขาเท่านั้น
โดยเขาเลือกที่จะไม่ต่อสัญญามูลค่า 450 ล้านบาทกับ McDonald’s
เพื่อที่จะได้นำภาพลักษณ์ของตัวเขาเองมาใช้ในการโปรโมตร้านพิซซาที่เขาลงทุน
ในปี ค.ศ. 2017 Forbes ได้จัดให้ Blaze Pizza คือเชนร้านอาหารที่เติบโตเร็วที่สุดที่เคยมีมา โดยปัจจุบัน Blaze Pizza มีจำนวนสาขากว่า 336 สาขา และมูลค่าเงินลงทุน 30 ล้านบาทของ James ได้เพิ่มกลายเป็น 1,200 ล้านบาทในปัจจุบัน คิดผลตอบแทนเป็น 40 เด้ง ภายใน 5 ปี
และการลงทุนที่สร้างชื่อให้กับ James มากที่สุดก็คือการลงทุนในทีมฟุตบอลลิเวอร์พูล
ในปี ค.ศ. 2011 เป็นช่วงที่ทีมลิเวอร์พูลไม่ได้มีผลงานที่ดีนัก ในขณะที่เจ้าของทีมอย่าง Fenway Sports Group (FSG) บริษัทที่เป็นเจ้าของทีมกีฬาจำนวนมาก ซึ่งก็ต้องการใช้ชื่อของ James ในการโปรโมตแบรนด์และดึงดูดลูกค้าเข้าบริษัท
James จึงยื่นข้อแลกเปลี่ยนนอกเหนือจากค่าตัวแล้ว เขายังต้องการหุ้น 2% ในทีมลิเวอร์พูลอีกด้วย
หลังจากข้อตกลงกับ FSG เสร็จสิ้น James ได้เยี่ยมชมการแข่งขันของลิเวอร์พูลและเขายังได้มอบหูฟัง Beats by Dre รุ่นพิเศษให้กับนักฟุตบอลในทีมอีกด้วย
จากดีลดังกล่าวทำให้หลังจากที่ลิเวอร์พูลได้เป็นแชมป์ในรายการยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ก็ทำให้มูลค่าของทีมลิเวอร์พูลในปี ค.ศ. 2019 เพิ่มขึ้นมหาศาล และหุ้น 2% ของเขา ก็มีมูลค่าเพิ่มขึ้นเป็น 2,100 ล้านบาท
นอกจากการลงทุนทั้งหมดที่กล่าวมานั้น
พอร์ตการลงทุนของ James ก็ยังมีอีกมากมาย เช่น
- บริษัท Ladder ซึ่งเขาได้ร่วมมือกับ Arnold Schwarzenegger เพื่อร่วมกันสร้างแบรนด์อาหารเสริมคุณภาพสูงสำหรับนักกีฬา และกิจการดังกล่าวก็ได้ถูกซื้อไปโดย Openfit แบรนด์ฟิตเนสชื่อดัง
- บริษัท SpringHill Entertainment บริษัทผลิตภาพยนตร์ สารคดี และรายการโทรทัศน์หลากหลายรายการ และได้รับการประเมินมูลค่าบริษัทกว่า 22,500 ล้านบาท ซึ่งคาดว่า James ถือหุ้นกว่าครึ่งหนึ่งของบริษัท
- บริษัท Uninterrupted แพลตฟอร์มสื่อทางด้านกีฬา ที่เชื่อมต่อบรรดานักกีฬาชื่อดังกับแฟนคลับผ่านรายการต่าง ๆ มากมายซึ่งได้รับความนิยมอย่างมาก
ปัจจุบัน Forbes ระบุว่า James มีทรัพย์สินราว 25,500 ล้านบาท ซึ่งทำให้ชีวิตของเขานั้นถือได้ว่าประสบความสำเร็จทั้งในด้านกีฬาและธุรกิจเลยทีเดียว
ก็เป็นที่น่าติดตามว่าในอนาคตอาชีพนักกีฬาของ LeBron James จะเป็นอย่างไร
หรือเขาจะเริ่มวางมือจากสนามบาสเกตบอล แล้วเข้าสู่สนามธุรกิจเต็มตัวเมื่อไร
เพราะอีกหนึ่งความฝันของเขาก็คือ “การได้เป็นเจ้าของทีมใน NBA”
ซึ่งด้วยกฎปัจจุบันของ NBA ทำให้เขาที่มีสถานะเป็นนักกีฬายังไม่สามารถเป็นเจ้าของทีมใด ๆ ได้
เรื่องทั้งหมดนี้ของ LeBron James สะท้อนให้เห็นว่าต้นทุนทางชีวิตของเรา
อาจจะมีผลมากกับช่วงชีวิตในวัยเด็กก็จริง แต่หลังจากนั้นอาจจะขึ้นอยู่กับตัวเราเองมากกว่า
เหมือนกับ James ชีวิตในวัยเด็ก เรียกได้ว่าติดลบ
แต่พอเขาโตขึ้น เขาก็ได้นำความพิเศษทางร่างกายที่ได้รับมา
รวมเข้ากับความมุ่งมั่นตั้งใจฝึกซ้อม จนก้าวขึ้นมาเป็นนักกีฬาระดับโลก และมีส่วนช่วยต่อยอดให้เขาเป็นนักธุรกิจระดับโลกด้วย นั่นเอง..
╔═══════════╗
Blockdit เป็นแพลตฟอร์ม สำหรับนักอ่าน และนักเขียน
ที่มีผู้ใช้งาน 1 ล้านคน ลองใช้แพลตฟอร์มนี้เพื่อได้ไอเดียใหม่ๆ
แล้วอาจพบว่าสังคมนี้เหมาะกับคนเช่นคุณ
Blockdit. Ideas Happen. Blockdit.com/download
╚═══════════╝
ติดตามลงทุนแมนได้ที่
Website - longtunman.com
Blockdit - blockdit.com/longtunman
Facebook - facebook.com/longtunman
Twitter - twitter.com/longtunman
Instagram - instagram.com/longtunman
Line - page.line.me/longtunman
YouTube - youtube.com/longtunman
Spotify - open.spotify.com/show/4jz0qVn1AL7tRMHiTvMbZH
Apple Podcasts - podcasts.apple.com/th/podcast/ลงท-นแมน/id1543162829
Soundcloud - soundcloud.com/longtunman
References:
-https://www.youtube.com/watch?v=0Qrey_QLSr8
-https://www.espn.com/nba/story/_/id/9825052/how-lebron-james-life-changed-fourth-grade-espn-magazine
-https://tonesanddefinition.com/2018/12/03/the-chosen-one-1-lebron-james/
-https://www.forbes.com/video/6269489945001/heres-how-lebron-james-could-become-a-billionaire-/?sh=2fdd29996486
-https://www.forbes.com/sites/kurtbadenhausen/2017/07/11/lebron-james-backed-blaze-pizza-is-fastest-growing-restaurant-chain-ever/?sh=649f2a5752b2
-https://www.marketwatch.com/story/when-lebron-james-chose-nike-in-2003-he-gave-up-28-million-it-could-end-up-making-him-1-billion-2019-08-29
-https://www.essentiallysports.com/nba-basketball-newsfrom-blaze-pizza-to-liverpool-f-c-the-top-5-businesses-lebron-james-owns/
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「lebron 20 uninterrupted」的推薦目錄:
- 關於lebron 20 uninterrupted 在 ลงทุนแมน Facebook 的最佳貼文
- 關於lebron 20 uninterrupted 在 HBK 的 NBA I Love This Game Facebook 的最讚貼文
- 關於lebron 20 uninterrupted 在 HBK 的 NBA I Love This Game Facebook 的最佳解答
- 關於lebron 20 uninterrupted 在 コバにゃんチャンネル Youtube 的最佳貼文
- 關於lebron 20 uninterrupted 在 大象中醫 Youtube 的精選貼文
- 關於lebron 20 uninterrupted 在 大象中醫 Youtube 的最佳貼文
lebron 20 uninterrupted 在 HBK 的 NBA I Love This Game Facebook 的最讚貼文
『 Dribble&CEO 』
商界天才LeBron James已打造屬於自己的商業帝國。
-
⬛#不能只當職業球員
『不能僅只做為一名傑出的籃球員,這條路真的太窄了,一旦籃球生涯結束了,之後還有五十年的人生道路要走,正如教父中所說講,你要趁年輕時揮出自己強勢的一拳』
這是LeBron James的商業夥伴兼任兄弟的Maverick Carter在談到LBJ人生規劃時所講到的,而事實也確實是如此。
-
職業球員不能夠打一輩子,是一個殘酷與現實的職業,過去有多少運動界的英雄好漢因傷殞落,提早結束自己的職業生涯;又或者有多少運動員退役後,所賺的千萬薪資都因管理不善而付諸流水,解甲歸田沒多久就宣告破產。
這些類似案例在運動界是層出不窮,因此這老早就已經是年輕的LeBron James一直在擔心與計畫的事情,他沒有因有大把突如其來的金錢鈔票,就這樣一夜致富的處境下給沖昏了頭。
即使出身貧寒,賺大錢一直是心中夢想藍圖,但LBJ也沒因此輕易被金錢所利誘失去冷靜,反而清楚自身的影響力後,更冷靜的思考去探索未來,以不疾不徐的態度做出最好的選擇。
-
⬛#商人的潛質與風範
當LBJ在18歲準備要以『天選之子』的威名進入NBA時,不少運動品牌為了想拔得頭籌,都開出很誘人的條件出來競爭,甚至有的還願意提前給予1000萬支票做為見面禮,這對於LBJ可是一筆很大的數目,彷彿就像是天上掉下來的大禮。
LBJ的母親Gloria當時很希望兒子可以拿下那張支票,但最終被LBJ拒絕,因為他決定要與Nike見面之後再做評估,聽取不同的合作聲音,展現相當成熟與精明和前瞻的一面,年紀輕輕已有做為商人的潛質,懂得談判爭取利益,而不是一股腦兒就草率簽約。
-
結果大家都知道了,Nike用誠意與宏遠未來規劃和最大的信任贏得LeBron James的簽約,雙方也證明了這是完美的結合,創造出巨大的球鞋版圖,且最終還達成了終身合約,這被LBJ視為人生最成功的理財決定。
正因為18歲就具備成熟冷靜的風範,有著敏銳的判斷和正確的決策,LBJ在2004年就找來知名的Paul Wachter來擔任財政顧問,Wachter一直是許多好萊屋巨星的商業顧問,也是當時加州州長Arnold Schwarzenegger的頭號顧問。
-
對於一個那麼年輕的毛頭小子找他當顧問,Wachter回想起來仍是感到驚訝,並且對當時LBJ的商業頭腦與尖銳觀點印象深刻,對此他說道:
"年輕運動員一開始會花大筆錢請我當顧問"
"這對我來說是少見的事情"
"且更讓我吃驚的事情是"
"他對整個商業運作很有觀念"
"尤其對數字相當敏感"
"當與他投資或商業合作時"
"LBJ不會問一些無關痛癢的問題"
"他總是能一針見血發起討論"
"他就是一個數字狂人"
-
2006年Paul Wachter特別介紹LeBron James給Warren Buffett認識,讓他與這位世界上最成功的投資家請益學習,而在雙方一見如故下,Buffett給予LBJ相當高的評價說:
"透過這次我了解一件事情"
"LBJ是一個精於金融的人"
"在我們暢談彼此的商業想法下"
"我還真的沒有聽到他說錯什麼呢"
"我能教他的還真的不多"
-
⬛#成立自己的商業團隊
LeBron James在2005年與自己首位經紀人分道揚鑣後,就下定決心要親自操作能真正投入參與的商業模式,要有屬於自己的掌控權,決定做自己的主人,於是隔年他與其他三個好兄弟Richard Paul、Maverick Carter和Randy Mims一同建立『LRMR』商業帝國。
做為公司的老闆與活招牌,LBJ與『LRMR』的商業主旨在於不是只願意扮演一個簡單代言,謝絕在媒體前鏡頭擺個樣子如此簡單,商業模式需有創意與掌控權,可以成為合作夥伴公司的一份子,即使只享有少數股權也沒關係,這能更有動力與向心力一起帶動品牌成長進化。
因此『LRMR』的公司標語為『We seek partners, not clients(我們尋找的是夥伴,而不是客戶)』,與LBJ在人生道路上與職業生涯所注重的兄弟情不謀而合。
-
⬛#不僅代言還是老闆
2008年Paul Wachter將LBJ與團隊『LRMR』引薦給Beats耳機創始人Jimmy Iovine和Dr. Dre相約見面,最後雙方相談甚歡成為合作夥伴與股東之一。
LBJ用自身強大影響力與優勢地位做置入式的廣告擴散,在08年北京奧運時他替隊友們都配置Beats耳機,通過奧運的鎂光燈瞬間形成一股旋風潮,讓運動員都需要有Beats耳機的現象瘋狂延燒,品牌因此一炮而紅,衝擊整個全球市場,讓耳機不僅能聽,還是潮流時尚的代表。
而2014年Beats被Apple用30億美金給買下,做為股東之一的LBJ藉此賺到3000多萬美金,完成一個獲利相當高的投資。
-
接著2012年LeBron James又眼光獨到看好新興的連鎖披薩店Blaze,只是礙於正在代言麥當勞,因此當時只單純投資做為股東之一。
2015年LBJ當機立斷與麥當勞談判要中止剩下三年的1400萬左右的代言合約,不少人都認為他為何跟錢過意不去,且還是大品牌公司,然而在LBJ的眼裡,早已經有慎密的盤算計畫,在解除代言人身分後,他能夠毫無顧忌火力全開去推廣Blaze,甚至還扮演店員服務客人,善用社群媒體的討論熱度和曝光力。
-
如今Blaze這四年從兩家店擴展到兩百多間,創下美國食品產業有史以來最快的展店紀錄,年銷售額也從原本600多萬到現在達到2億大關,而擁有10%股份的LBJ據傳加代言費已經有3500萬美金至4000萬美金的價值。
LeBron James一直不僅僅是個優質的代言者,他還具備老闆身分參與其中帶來關鍵決策,為品牌灌入難以估量的價值。
-
⬛#新一代籃球界商業帝王
上述兩個投資案例能夠理解LeBron James就如Buffett所形容的,是一個具備精準眼光與前瞻商業頭腦的CEO,除了創立『LRMR』外,他還有娛樂公司SpingHill Entertainment以及多媒體公司Uninterrupted,儼然LBJ已經建造屬於自己的商業帝國,且還有許多商業計畫正在進行獲利中。
-
根據2018年統計,在「世界最會賺錢運動員」的調查裡,LeBron James排在第六,是NBA籃球員名次排最高的,在球員薪資、各項代言與投資都相當活躍與成功。
至於在NBA球員twitter關注數排行榜上,LBJ同樣名列第一,突破4100萬以上的關注度,足足是第二名的兩倍以上,具備著頂級的社群影響力。
所以不管是商業決策與判斷,還是自己身為籃球傳奇巨星的超級光環,LBJ都已經擁有所有成功的要素,要成為新一代籃球界的商業帝王,他早已經領跑在最前端。
-
『Dribble&CEO』
LBJ不是只有在籃球場上充滿野心
20歲就野心勃勃要當商業帝王
用兄弟模式成功築起帝國基業
LBJ只是籃球員?
那你就大錯特錯了!
➡Nike Basketball Taiwan
✏HBK
lebron 20 uninterrupted 在 HBK 的 NBA I Love This Game Facebook 的最佳解答
『 Dribble&CEO 』
商界天才LeBron James已打造屬於自己的商業帝國。
-
⬛#不能只當職業球員
『不能僅只做為一名傑出的籃球員,這條路真的太窄了,一旦籃球生涯結束了,之後還有五十年的人生道路要走,正如教父中所說講,你要趁年輕時揮出自己強勢的一拳』
這是LeBron James的商業夥伴兼任兄弟的Maverick Carter在談到LBJ人生規劃時所講到的,而事實也確實是如此。
-
職業球員不能夠打一輩子,是一個殘酷與現實的職業,過去有多少運動界的英雄好漢因傷殞落,提早結束自己的職業生涯;又或者有多少運動員退役後,所賺的千萬薪資都因管理不善而付諸流水,解甲歸田沒多久就宣告破產。
這些類似案例在運動界是層出不窮,因此這老早就已經是年輕的LeBron James一直在擔心與計畫的事情,他沒有因有大把突如其來的金錢鈔票,就這樣一夜致富的處境下給沖昏了頭。
即使出身貧寒,賺大錢一直是心中夢想藍圖,但LBJ也沒因此輕易被金錢所利誘失去冷靜,反而清楚自身的影響力後,更冷靜的思考去探索未來,以不疾不徐的態度做出最好的選擇。
-
⬛#商人的潛質與風範
當LBJ在18歲準備要以『天選之子』的威名進入NBA時,不少運動品牌為了想拔得頭籌,都開出很誘人的條件出來競爭,甚至有的還願意提前給予1000萬支票做為見面禮,這對於LBJ可是一筆很大的數目,彷彿就像是天上掉下來的大禮。
LBJ的母親Gloria當時很希望兒子可以拿下那張支票,但最終被LBJ拒絕,因為他決定要與Nike見面之後再做評估,聽取不同的合作聲音,展現相當成熟與精明和前瞻的一面,年紀輕輕已有做為商人的潛質,懂得談判爭取利益,而不是一股腦兒就草率簽約。
-
結果大家都知道了,Nike用誠意與宏遠未來規劃和最大的信任贏得LeBron James的簽約,雙方也證明了這是完美的結合,創造出巨大的球鞋版圖,且最終還達成了終身合約,這被LBJ視為人生最成功的理財決定。
正因為18歲就具備成熟冷靜的風範,有著敏銳的判斷和正確的決策,LBJ在2004年就找來知名的Paul Wachter來擔任財政顧問,Wachter一直是許多好萊屋巨星的商業顧問,也是當時加州州長Arnold Schwarzenegger的頭號顧問。
-
對於一個那麼年輕的毛頭小子找他當顧問,Wachter回想起來仍是感到驚訝,並且對當時LBJ的商業頭腦與尖銳觀點印象深刻,對此他說道:
"年輕運動員一開始會花大筆錢請我當顧問"
"這對我來說是少見的事情"
"且更讓我吃驚的事情是"
"他對整個商業運作很有觀念"
"尤其對數字相當敏感"
"當與他投資或商業合作時"
"LBJ不會問一些無關痛癢的問題"
"他總是能一針見血發起討論"
"他就是一個數字狂人"
-
2006年Paul Wachter特別介紹LeBron James給Warren Buffett認識,讓他與這位世界上最成功的投資家請益學習,而在雙方一見如故下,Buffett給予LBJ相當高的評價說:
"透過這次我了解一件事情"
"LBJ是一個精於金融的人"
"在我們暢談彼此的商業想法下"
"我還真的沒有聽到他說錯什麼呢"
"我能教他的還真的不多"
-
⬛#成立自己的商業團隊
LeBron James在2005年與自己首位經紀人分道揚鑣後,就下定決心要親自操作能真正投入參與的商業模式,要有屬於自己的掌控權,決定做自己的主人,於是隔年他與其他三個好兄弟Richard Paul、Maverick Carter和Randy Mims一同建立『LRMR』商業帝國。
做為公司的老闆與活招牌,LBJ與『LRMR』的商業主旨在於不是只願意扮演一個簡單代言,謝絕在媒體前鏡頭擺個樣子如此簡單,商業模式需有創意與掌控權,可以成為合作夥伴公司的一份子,即使只享有少數股權也沒關係,這能更有動力與向心力一起帶動品牌成長進化。
因此『LRMR』的公司標語為『We seek partners, not clients(我們尋找的是夥伴,而不是客戶)』,與LBJ在人生道路上與職業生涯所注重的兄弟情不謀而合。
-
⬛#不僅代言還是老闆
2008年Paul Wachter將LBJ與團隊『LRMR』引薦給Beats耳機創始人Jimmy Iovine和Dr. Dre相約見面,最後雙方相談甚歡成為合作夥伴與股東之一。
LBJ用自身強大影響力與優勢地位做置入式的廣告擴散,在08年北京奧運時他替隊友們都配置Beats耳機,通過奧運的鎂光燈瞬間形成一股旋風潮,讓運動員都需要有Beats耳機的現象瘋狂延燒,品牌因此一炮而紅,衝擊整個全球市場,讓耳機不僅能聽,還是潮流時尚的代表。
而2014年Beats被Apple用30億美金給買下,做為股東之一的LBJ藉此賺到3000多萬美金,完成一個獲利相當高的投資。
-
接著2012年LeBron James又眼光獨到看好新興的連鎖披薩店Blaze,只是礙於正在代言麥當勞,因此當時只單純投資做為股東之一。
2015年LBJ當機立斷與麥當勞談判要中止剩下三年的1400萬左右的代言合約,不少人都認為他為何跟錢過意不去,且還是大品牌公司,然而在LBJ的眼裡,早已經有慎密的盤算計畫,在解除代言人身分後,他能夠毫無顧忌火力全開去推廣Blaze,甚至還扮演店員服務客人,善用社群媒體的討論熱度和曝光力。
-
如今Blaze這四年從兩家店擴展到兩百多間,創下美國食品產業有史以來最快的展店紀錄,年銷售額也從原本600多萬到現在達到2億大關,而擁有10%股份的LBJ據傳加代言費已經有3500萬美金至4000萬美金的價值。
LeBron James一直不僅僅是個優質的代言者,他還具備老闆身分參與其中帶來關鍵決策,為品牌灌入難以估量的價值。
-
⬛#新一代籃球界商業帝王
上述兩個投資案例能夠理解LeBron James就如Buffett所形容的,是一個具備精準眼光與前瞻商業頭腦的CEO,除了創立『LRMR』外,他還有娛樂公司SpingHill Entertainment以及多媒體公司Uninterrupted,儼然LBJ已經建造屬於自己的商業帝國,且還有許多商業計畫正在進行獲利中。
-
根據2018年統計,在「世界最會賺錢運動員」的調查裡,LeBron James排在第六,是NBA籃球員名次排最高的,在球員薪資、各項代言與投資都相當活躍與成功。
至於在NBA球員twitter關注數排行榜上,LBJ同樣名列第一,突破4100萬以上的關注度,足足是第二名的兩倍以上,具備著頂級的社群影響力。
所以不管是商業決策與判斷,還是自己身為籃球傳奇巨星的超級光環,LBJ都已經擁有所有成功的要素,要成為新一代籃球界的商業帝王,他早已經領跑在最前端。
-
『Dribble&CEO』
LBJ不是只有在籃球場上充滿野心
20歲就野心勃勃要當商業帝王
用兄弟模式成功築起帝國基業
LBJ只是籃球員?
那你就大錯特錯了!
➡Nike Basketball Taiwan
✏HBK