【肥胖解密】網路上搜尋到的系列文章,作者是shanemate,內容與建議多半是來自於較新的論文研究,摘要分享給大家。結論先來,四大要點:
一、運動讓你不復胖:減少胰島素阻抗,增加脂聯素的分泌。每天運動30~60分鐘,每周中高強度運動四到五天。
二、該吃什麼?
-避免糖與代糖的攝取,減少對甜味的依賴。
-減少精製的碳水化合物,改吃未精製的五穀雜糧。
-不僅僅吃低GI飲食,而是要吃低FII飲食
-增加天然脂肪的攝取,例如牛油,豬油,奶油,魚油,冷壓椰子油。攝取未過度加工的單元不飽和脂肪,例如冷壓初榨的橄欖油,酪梨油,亞麻子油。
-避免氫化植物油(例如氫化椰子油),避免加工的多元不飽和脂肪,例如沙拉油(大豆油),玉米油,芥花油(canola oil),花生油,葡萄籽油。
-避免油炸物。
-避免脂肪和精緻的碳水化合物一同攝取
-增加膳食纖維的攝取。
-適量,甚至少量的蛋白質攝取(一公斤體重0.8~1克),這和減肥無關,和長壽有關。
-增加天然有機蔬菜水果的攝取。
三、限制進食的時間與頻率:把一天的進食時間限制在八小時內,剩下的16小時都不要吃東西。例如只在中午12點到晚上八點之間進食。這叫做16-8的間歇性斷食。
四、釋放壓力與充足睡眠:飲食不是肥胖的唯一原因。如果肥胖是因為長期的壓力,飲食的效果會不太好,培養運動的生活習慣,釋放壓力反而比較有效。睡眠不足也會讓人變胖。
【肥胖解密1:肥胖的設定點理論 Set Point Theory】
人體有一個自動穩定體重與體脂的機制「恆胖計」,所設定的體重或體脂程度,就叫做設定點(set point)。胖子之所以胖,是因為他們的設定點高,減肥失敗是因為減肥的方法沒有改變設定點,所以節食一段時間後都會復胖。瘦子之所以瘦是因為設定點低,怎麼吃都不會胖。
不同食物吃進肚子,對於賀爾蒙的影響都不同,所以就減肥而言,不同食物的一卡路里都不一樣。減肥要成功,一定要慢慢改變身體恆胖計的設定點。哪些賀爾蒙是引響肥胖的關鍵角色?
1. Insulin 胰島素與 Insulin Resistance 胰島素阻抗
2. Leptin 瘦體素與 Leptin Resistance 瘦體素阻抗
3. Incretin 腸泌素
4. Cortisol 皮質醇
【肥胖解密2:胰島素讓你胖】
體內的胰島素量和肥胖有正相關。胖子的胰島素分泌量比一般人平均高出20%,且胰島素和體脂比例,腰圍等都有正相關。
肥胖,不是熱量失衡,而是賀爾蒙失衡!減肥的關鍵不是如何平衡熱量,而是如何去平衡賀爾蒙。如果胰島素讓你胖,那麼減肥的目標首要就是降低胰島素的量。
【肥胖解密3:胰島素阻抗】
胰島素阻抗是身體內胰島素失去作用的指標,它與一系列的代謝症候群(高血壓,高血脂,心臟病,糖尿病,中風,阿茲海默症)都有密切的相關。
長期持續地高胰島素濃度會一步步提高胰島素阻抗。這裡有兩個要件,高濃度與長期。這是目前大部分二型糖尿病患的狀況。他們一步步看著自己走向終點,指標就是注射的胰島素劑量。就算在健康人體內,高胰島素也會導致胰島素阻抗。
為何在一開始就有高胰島素?很明顯,精緻的澱粉,糖等高GI的食物是個主因。但別忘了,我們還需要第二個要素,時間,長期且持續的高濃度胰島素才會產生胰島素阻抗。
那麼要如何維持體內胰島素一直在高檔?你就一直吃就對了!早餐後吃個點心,喝杯加糖熱拿鐵,中餐後來杯含糖飲料,下午再加個下午茶,晚餐後吃甜點,睡前加宵夜。你就只要一直吃吃吃,一天六餐或是含糖飲料不斷,就可以持續維持體內胰島素在高檔。
【肥胖解密4:胰島素阻抗的成因,新的典範】
肌肉一方面會使用血液中的葡萄糖當作能量來源,另一方面會接受胰島素的指令把葡萄糖轉為肝糖儲存起來備用。
肌肉的胰島素阻抗:肌肉使用(氧化)葡萄糖的能力與儲存葡萄糖的能力都下降。
肝的胰島素阻抗:肝臟持續不斷地製造葡萄糖,同時肝臟也累積了一堆脂肪。學界已經認可脂肪肝會形成胰島素阻抗。
上述這兩個胰島素阻抗都有脂肪的異常累積(ectopic lipid accumulation)。脂肪的異常累積是說脂肪儲存在不正常的地方,例如肌肉與肝臟細胞內。因為脂肪的過度外溢,把細胞裡面塞滿滿的。
脂肪細胞分泌脂聯素(影響脂肪累積與形成胰島素阻抗最重要的激素),脂聯素分泌不足會降低脂肪細胞儲存的能力,造成脂肪外溢,然後導致胰島素阻抗與代謝疾病。
【肥胖解密5:胰島素阻抗的解方,新的典範】
想辦法去提高自身脂聯素的分泌才是治本的解方。目標:
1. 降低體內胰島素濃度(胰島素會阻止人體使用脂肪作為能量,進一步提高胰島素阻抗)
2. 大量消耗細胞內被塞滿滿的葡萄糖與脂肪
3. 提高自身脂聯素的分泌。
方法一:運動
長期且持續的運動才有顯著的幫助。持續到半年以上的運動訓練,每天運動30~60分鐘,每周運動4~5天,不管是哪種運動(有氧或重訓)都可以,但只有中高強度的運動才有用。
有氧運動:以自己最大心跳率(Maximum Heart Rate, MHR)的百分比決定運動強度。
中強度:60~70%MHR
高強度:70~80%MHR
重量訓練:以自己的最大肌力 (1RM,只能舉起一次的重量)的百分比為主。
中強度:60~65% 1RM,只能夠做15下就力竭的重量
高強度:75~80% 1RM,只能夠做8~10下就力竭的重量
鍛鍊後,肌肉細胞裡的粒線體數量會增加,還可以增加大腦內BDNF的提高,改善大腦的每個功能(學習,記憶,情緒,創意等)。
方法二:生酮飲食
生酮飲食是一種超低碳高脂飲食,10%的碳水化合物,10~20%的蛋白質,70~80%的脂肪。生酮飲食不吃任何澱粉與糖,不吃水果(有果糖),10%的碳水化合物都來自蔬菜。也限制蛋白質的攝取(因為肝臟會使用胺基酸製造葡萄糖)。當身體沒有葡萄糖,就只能使用脂肪當作能量來源。
生酮飲食對於減肥有奇效。因為不攝取碳水化合物,就不會刺激胰島素分泌,身體的胰島素始終維持在低檔,直接降低身體恆胖計的設定點。胰島素一直在低檔,就直接改善了所有和胰島素相關的代謝症候群疾病,例如肥胖與糖尿病。
方法三:間歇性斷食
間歇性斷食在減肥與降低胰島素阻抗上有驚人的效果,上面低碳飲食的好處(減肥,降低HbA1c,提高 LDL/HDL,降低血脂濃度)它都有。且有提高腦內BDNF、抗老化、治療關節炎、提高體內生長激素、降低心血管疾病風險等好處。
小孩,還在發育的青少年,孕婦,哺乳婦女,及瘦弱的老人不適合進行斷食。
【肥胖解密6:肥胖的終極原因 The Ultimate Cause】
瘦體素是控制食慾的關鍵賀爾蒙。當瘦體素分泌量低時,會觸發飢餓素使人產生飢餓感,提醒說該吃飯了。瘦體素分泌量高過一個閥值時,會刺激腦部會發出飽足感,告訴人已經吃飽了,不用再吃了。高濃度的胰島素會產生胰島素阻抗與瘦體素阻抗。胰島素一方面幫你囤積脂肪,一方面又告訴你還吃不夠,怎麼吃都吃不飽。
只要一進食,胰島素上升,血液中脂肪酸濃度就馬上下降,六小時後才回到原本的濃度。也就是說,只要你一進食,就不會燃燒脂肪。運動是為了降低胰島素阻抗,並不是為了消耗熱量或燃脂。
要怎樣降低恆胖計的設定點?要降低體內的胰島素。減少進食時間、挑選不刺激胰島素的食物。所以減肥不需要計算熱量。不用計算熱量不代表不控制飲食,暴飲暴食,而是要傾聽身體的聲音。不餓不吃,餓了才吃,吃飽就好。當你的設定點降低,身體自然會降低食慾與增加飽足感。
[肥胖解密7:高蛋白減肥法有效嗎?]
研究者在以色列找來了322位志願的胖子,隨機分成三種減肥飲食,並且嚴格執行兩年(2005-2007):
第一種是低脂飲食,並且限制熱量為男性1800卡,女性1500卡。這派飲食就是普遍最流行的,減少熱量攝取(但是大於基礎代謝率),製造熱量赤字的減肥法。飲食中有30%脂肪,碳水化合物則以穀類,蔬菜水果為主,避含糖飲料和脂肪攝取)。
第二種是地中海飲食。一樣限制熱量(男性1800卡,女性1500卡),攝取大量蔬菜水果,避免紅肉,以魚和雞肉代替,飲食中有35%脂肪,以橄欖油和堅果類為主。
第三種就是標準的阿金飲食。不限制熱量,從低碳(20g/day)開始到中碳(120g/d)的循環(阿金飲食說不用一直維持在超低碳)。
結論:只要吃對食物,不需要限制熱量。即使熱量攝取相同,低脂與地中海飲食的結果大相逕庭(血脂、膽固醇等也都不同,地中海優於低脂飲食),這說明同樣的一卡路里,如果來自不同的食物,對身體的賀爾蒙影響也會不同,a calorie is not a calorie。
【肥胖解密8:食物的胰島素反應】
雖然蛋白質不會引起血糖升高,但蛋白質還是會刺激胰島素分泌。1967年,科學家就已經發現空腹胰島素佔了24小時胰島素總分泌量的50%。
血糖很重要,但也別忽略了胰島素。如果只顧血糖,你有可能攝取了低GI,但卻會引起高胰島素的食物,結果依舊造成肥胖與糖尿病。
當食物一進入口中,胃就會分泌腸素胰素(incretin, 包含GLP-1與GIP兩種肽),腸素胰素會馬上指示胰島分泌胰島素。脂肪,蛋白,碳水化合物都會刺激腸素胰素的分泌。所有的食物都會刺激胰島素分泌,只是程度不一。
FII值依序最高的分別是 馬鈴薯、白麵包、全麥麵包、白米飯,炸薯條。FII值最低的是全麥義大利麵,義大利麵、裸麥麵包、糙米飯。全脂牛奶的FII值遠低於脫脂牛奶。
純脂肪的胰島素指數相當低,大約是白麵包的3%。腸素胰素除了刺激胰島素分泌外,還有另外一個作用就是降低胃部蠕動,這個作用會增加人的飽足感,告訴人們快吃飽了。
簡而言之,腸促素對於肥胖同時有一正一負兩種效果,一方面增加胰島素,另一方面增加飽足感。蛋白質對於肥胖的效果取決於這一正一負的作用。就長期追蹤研究的調查來說,喝全脂牛奶有助於減肥,脫脂牛奶則不會。提高肉類的攝取則和體重增加有正相關。
【肥胖解密9:碳水化合物假說與沖繩】
在日本有一群人,很長壽,百歲人瑞比例全世界最高,這區的人口平均BMI是20.4,他們老年人的心血管疾病、癌症、中風等疾病比例是世界數一數二的低,但是他們的飲食有85%是碳水化合物。他們是沖繩人。確切地說,是沖繩的老人。
雖然吃的是超高碳飲食,可是他們都很瘦,沒有肥胖的問題,代謝症候群(心血管疾病,中風)與癌症的比例也是世界上數一數二低。傳統沖繩人的主食是紫地瓜(69%),配上一點點米飯與五穀雜糧、豆類、和一點點魚。飲食中碳水化合物85%、蛋白質9%、脂肪6%。
地瓜、粗糙的五穀雜糧與米飯麵包等精緻的碳水化合物差別在哪裡?膳食纖維。纖維是一種保護因子,會減緩食物的吸收速度,降低血糖的上升速度。除此之外,纖維會妨礙結腸吸收脂肪酸的速度,這會減少胰島素的分泌,還能改善胰島素敏感性。
減肥不必然要減碳,但是要提高纖維的攝取,最直接的方法就是把精緻的碳水化合物,白飯,白麵條,麵包與馬鈴薯替換成高纖維的五穀雜糧。目前學術界對長壽研究的共識,是熱量限制與蛋白質限制,沖繩飲食完全符合這兩項原則。
【肥胖解密10:糖與代糖,苦澀的真相】
一份葡萄糖吃入體內只有小於5%會合成脂肪。同時葡萄糖會刺激胰島素與瘦體素,大腦知道我們吃了東西,會知道何時要給我們飽足感。果糖不會刺激胰島素與瘦體素,大量攝取果糖不會給我們飽足感。果糖100%進入肝臟代謝,它不會變成肝醣儲存起來,全部的果糖都必須被肝臟代謝掉。
這些果糖除了一部分變成能量外,其他會在代謝過程中產生尿酸質、新生的脂肪與膽固醇,還會刺激肝臟的發炎反應。人體的膽固醇有八成是肝臟製造的,飲食中攝取的膽固醇變成人體內儲存的比例極低。吃蛋黃不會給你膽固醇,但是吃果糖,會。
糖會提高得二型糖尿病的風險。攝取果糖不好,那我們改用代糖好了?但習慣喝越多代糖飲料的人體重增加越多。代糖的使用增加了罹患心血管疾病的機率、還可能增加罹患代謝症候群的機率。
在進食後兩個小時,阿斯巴甜組(Aspartame,圓形)與甜菊組(Stevia,方形)的胰島素指數是蔗糖組(Sucrose,三角形)的五倍以上!這表示在同樣的血糖變化量下,代糖組的人需要分泌較多的胰島素去工作!代糖確實不會直接刺激胰島素分泌,但是它會間接影響人體對於其他食物的胰島素反應。和保護性的纖維相反,代糖似乎會加大食物的胰島素反應。
【肥胖解密11:飽和脂肪錯了嗎?】
飲食中飽和脂肪的攝取和人體內膽固醇與心血管疾病無關聯。脂肪的膽固醇假說是錯的,反倒糖(果糖)的攝取才是關鍵。
大量吃脂肪的好處(降低血脂、膽固醇)都來自於限制碳水化合物的攝取。當血液中同時存在著大量的葡萄糖與脂肪酸,這些脂肪酸進入肌肉細胞之後就會妨礙胰島素的工作,提高肌肉的胰島素阻抗。
但是如果飲食中不攝取碳水化合物,只吃蛋白質與脂肪。在人體內蛋白質分解成胺基酸,脂肪分解成脂肪酸與甘油,沒有葡萄糖。這兩類食物都是零GI,不會升高血糖,就沒有了上面的問題。
可以正常攝取飽和脂肪(動物油,椰子油),但是請避免和精緻的碳水化合物同時攝取。建議攝取單元不飽和脂肪,例如橄欖油,酪梨油。除了富含omega-3的多元不飽和脂肪(魚油、亞麻子油)以外,避免其他的植物油(氫化植物油,葡萄籽油,大豆油,花生油,玉米油等等,所有一切外面餐廳普遍使用的油)。
吃奶油會讓你瘦,當你只吃奶油的時候。奶油讓你瘦,但奶油麵包會讓你胖。
系列原文:
https://shanemate.blogspot.com/2017/01/1-set-point-theory.html
同時也有10部Youtube影片,追蹤數超過8,540的網紅長谷川ろみの腸活研究所,也在其Youtube影片中提到,スーパーの野菜売り場に映える、真っ赤な根菜と言えば、ビーツ。 まだまだめずらしい野菜ですが、ここ数年で見かけることも多くなってきました。 実はこの「ビーツ」、ヒトの腸内に届くと痩せ菌を増やしてくれるという研究結果があるんです。 ↓文字で読みたい方はこちら↓ 甘酒とビーツは兄弟かもしれない。 h...
「insulin resistance」的推薦目錄:
- 關於insulin resistance 在 麥克風的市場求生手冊 Facebook 的最佳貼文
- 關於insulin resistance 在 หมอๆ ตะลุยโลก Facebook 的最讚貼文
- 關於insulin resistance 在 Kit Mah Facebook 的精選貼文
- 關於insulin resistance 在 長谷川ろみの腸活研究所 Youtube 的精選貼文
- 關於insulin resistance 在 長谷川ろみの腸活研究所 Youtube 的最讚貼文
- 關於insulin resistance 在 長谷川ろみの腸活研究所 Youtube 的最佳貼文
- 關於insulin resistance 在 Dr. Jason Fung - 'A New Paradigm of Insulin Resistance' 的評價
insulin resistance 在 หมอๆ ตะลุยโลก Facebook 的最讚貼文
โพสต์นี้ว่าด้วยเรื่องของ "น้ำหนักร่างกาย"
ที่ผมต้องมาพูดประเด็นนี้ เรื่องจากตอนนี้การป้องกันโรคดูจะเป็นเรื่องสำคัญไม่แพ้กับการรักษาโรคไปแล้ว ณ ตอนนี้ โดยเฉพาะโรคติดเชื้อต่างๆ
.
และหนึ่งในปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญที่ทำให้อาการต่างๆแย่ลงได้ นั่นก็คือ "ภาวะน้ำหนักเกิน" (overweight) นั่นเองครับ เพราะน้ำหนักที่เกินในระยะเวลานานๆจะทำให้ร่างกายมีปัญหาของเรื่องความดันโลหิตสูง เบาหวาน metabolic syndrome และอะไรตามอีกมากมาย ซึ่งเพิ่มความเสี่ยงของอัตราการเสียชีวิตอย่างเห็นได้ชัด
.
น้ำหนักที่เกิน (overweight) นี้ ขอใช้นิยามเดียวกับคนทั่วไป คือ ไม่ได้มีสัดส่วนของกล้ามเนื้อที่มากกว่าปกติ เช่น คนเล่นกล้าม ที่น้ำหนักอาจจะเกินเกณฑ์มาตรฐานได้ โดยที่ทั้งๆที่สัดส่วนของร่างกายดูปกติ เพราะบางครั้งการวัดน้ำหนักตามเกณฑ์ BMI อาจจะทำให้เราพลาดในส่วนนี้ไปได้ แต่รายละเอียดตรงนี้อาจจะไม่จุดประสงค์ที่จะพูดกันในวันนี้ครับ
.
ผมอยากจะขอพูดเรื่องสิ่งที่เรียกว่า "ความอ้วน" เป็นหลักมากกว่า โดยไม่ได้พูดเรื่องน้ำหนักที่เกินเกณฑ์ตามประโยคข้างต้น เอาแบบให้เห็นภาพคือ เราอ้วน เราใส่กางเกงตัวเดิมไม่ได้ทั้งๆที่เราใส่ได้ น้ำหนักเราขึ้นมาหลายสิบกิโลกรัมในช่วงหลายปีที่ผ่านมาทั้งๆที่เราไม่ได้อยู่ในวัยที่เจริญเติบโตของร่างกายใดๆ หรือใครที่กำลังคิดถึงรูปร่างของเราเมื่อสักช่วงสมัยเรียนมหาวิทยาลัยอะไรประมาณนั้นครับ
.
ผมขอยกเนื้อหาบางส่วนมาจากหนังสือที่มีชื่อว่า "The Obesity Code" ของ Dr.Jason Fung ซึ่งมีเนื้อหาที่น่าสนใจ โดยขอสรุปใจความเนื้อหาไว้ดังนี้ครับ
.
หลายๆคนอาจจะเข้าใจว่า "ความอ้วน" มาจาก แคลอรี่ที่กินเข้าไป > แคลอรี่ที่ใช้ออกมา เช่น เราจะคิดว่า เพราะเรากินมาก แต่ออกกำลังกายน้อย นั่นทำให้เราอ้วน ซึ่งอาจจะไม่ถูกต้องซะทีเดียว เพราะจริงๆแล้วร่างกายมีการปรับระดับอัตราการเผาผลาญให้มากขึ้นหรือลดลงได้ตามพลังงานที่ร่างกายได้รับเข้ามา
.
Total Energy Expenditure ตัวย่อ TEE แปลว่า พลังงานที่ร่างกายได้เผาผลาญไปในวันนั้นๆ จะมาจาก 3 ส่วน คือ 70% มาจาก Basal metabolic rate ซึ่งร่างกายจะปรับขึ้นลงโดยอัตโนมัติ 10% มาจาก Thermic Effect of food ซึ่งก็คือพลังงานที่ต้องใช้ในการย่อยอาหารที่เรากินเข้าไป โดยโปรตีนจะใช้พลังงานมากที่สุด และ อย่างสุดท้าย 20% เป็น Physical Activity ของเรานั่นเอง นั่งดูทีวี เดินไปทำงาน เดินไปซื้อกาแฟ พลังงานที่ใช้จะอยู่ในส่วนนี้ ซึ่งถ้าสมมติว่าคนๆหนึ่งใช้พลังงานต่อวันคือ 2,000 Kcal เท่ากับ พลังงานที่เกิดจากกิจกรรมนั้นจะอยู่ที่ราวๆ 300-400 Kcal เท่านั้น ซึ่งไม่ใช่ประเด็นหลัก เพราะเรามีผลวิจัยมากมายที่ชี้ว่า ถ้าเรากินมากขึ้น พลังงานจะถูกเผามากขึ้นจาก (BMR + TEF ที่มากขึ้น)
.
การกินน้อยเพื่อลดน้ำหนัก (Caloric restriction) อาจจะได้ผลในช่วงแรก แต่ผลลัพธ์สุดท้าย ร่างกายจะปรับ BMR ให้ลดต่ำลงจากพลังงานที่เข้ามาน้อย เพราะร่างกายจะเข้าสู่โหมด starvation คือต้องสงวนพลังงานเอาไว้ใช้
.
ลองคิดภาพตามนะครับ ถ้าจริงๆแล้ว ร่างกายเราต้องใช้พลังงาน 2,000 kcal ต่อวัน แล้วเราทานวันละ 1,500 kcal ต่อวัน จนสุดท้ายร่างกายปรับ TEE มาเหลือ 1,500 kcal ต่อวัน นั่นแปลว่า Calories in - Calories out = 0 นั่นคือทางตันของน้ำหนักที่ลดแล้วใช่ไหมครับ ??? อันนี้คือจุดเริ่มต้นของ Yoyo effect ที่เราพยายามหลีกเลี่ยงนั่นเอง เพราะถ้าเรากินแค่วันละ 1,000 kcal ต่อวัน เราไม่สามารถทำได้ในระยะยาว เพราะร่างกายจะทรุดโทรมอย่างมาก จนสุดท้ายเราจะกลับมากินอย่างมากมาย และน้ำหนักจะขึ้นพรวดพราด และสิ่งที่เร็วร้ายที่สุดคือ การกู้ metabolic rate ให้กลับมาเท่าเดิม นั้นต้องใช้เวลานานมากครับ และนั่นถืงเป็นสาเหตุว่า ทำไมเวลาเกิน Yoyo effect แล้ว น้ำหนักถึงขึ้นอย่างรวดเร็ว และมักกลับขึ้นเกินน้ำหนักเดิมที่ก่อนตั้งใจลดน้ำหนักเสียอีก
.
จากบทสรุปด้านบน อาจจะบอกได้จริงๆแล้ว ความอ้วน ไม่ได้มาจาก แคลอรี่ แล้ว ความอ้วน มาจากอะไร???
.
เมื่อเราเริ่มต้นหาจุดกำเนิดของความอ้วนที่เกิดขึ้นทั่วโลก เราจะพบว่าความอ้วนของมนุษย์พึ่งมาเกินในช่วงหลังราวๆสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา ก่อนหน้านี้ประวัติศาสตร์ของความอ้วนมีอยู่เพียงกลุ่มเฉพาะ ไม่ได้เป็นโรคระบาดเหมือนในปัจจุบัน โดยความอ้วนที่เกิดแบบชุกที่สุดจะเกิดในชาติตะวันตก โดยเฉพาะในสหรัฐอเมริกา โดยเมื่อเราไปสังเกตว่าสิ่งใดที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในช่วงนี้ เราจะพบว่า "อาหาร" คือปัจจัยที่สำคัญที่สุด โดยอาหารที่ว่าก็คือ "บรรดาอาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรต + แป้ง" หรือ Fast food นั่นเอง ที่คนอเมริกันบริโภคกันอย่างมหาศาล แล้วตอนนี้เราจะเหมารวมว่า "แป้งหรือคาร์โบไฮเดรต" เป็นผู้ร้ายได้หรือไม่
.
ในขณะเดียวกันถ้าเราไปดูประเทศอย่างจีน หรือ ญี่ปุ่น ที่เรียกกว่ากินข้าวกันเป็นกระสอบในช่วงเวลาเดียวกัน ภาวะโรคอ้วนกลับไม่พบอย่างเห็นได้ชัด ดังนั้นผู้ต้องสงสัยที่เรากำลังหมายหัวอาจจะไม่ถูกต้องซะทีเดียว แสดงว่าต้องมีอะไรที่อยู่ในแป้งที่เรากำลังสงสัยอยู่
.
นั่นคือที่มาของคาร์โบไฮเดรตที่มีคำว่า unprocessed กับ processed นั่นเองครับ สิ่งที่คนอเมริกันกินประจำคือ processed carb หรือพวกบรรดาขนมปังเบอร์เกอร์ ขนมเค๊ก ในขณะที่คนเอเชียทาน ข้าวเจ้า หรือ unprocessed carb ความแตกต่างของการขัดสีแป้ง ทำให้พวกบรรดาใยอาหารต่างๆนั้นสูญหายไประหว่างการผลิตซึ่งถือเป็นจุดสำคัญที่สุดของเรื่องราว เพราะเมื่ออาหารที่ไม่มีกากใยย่อมดูดซึมได้ง่ายและเราจะทานได้มากกว่าปกติเพราะอิ่มยาก ในขณะที่อาหารที่มีกากใยทุกอย่างจะเกิดขึ้นในทางตรงกันข้าม ในคิดภาพ ระหว่างทานข้าวกล้อง กับ ขนมปัง ดูครับ จะเห็นได้ชัด
.
แต่ความแตกต่างที่มากที่สุดต่อ แป้ง 2 ชนิดนี้คือ ผลลัพธ์ของการกระตุ้นฮอร์โมนอินซูลิน (Insulin) นั่นเอง โดย processed carbohydrate จะทำให้อินซูลินหลั่งอย่างมากมาย เนื่องจากอินซูลินมีหน้าที่เก็บ กลูโคส (Glucose) หน่วยที่เล็กที่สุดของแป้งหลังจากผ่านการย่อยในระบบทางเดินอาหารเมื่อเข้าไปสู่ในกระแสเลือด โดยอินซูลินจะทำการเก็บกลูโคสไปไว้ในเซลล์เพื่อลดระดับน้ำตาลในเลือดลง โดยที่ในขณะที่อินซูลินกำลังทำงาน สิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นคือ ร่างกายจะปิดระบบการเผาผลาญพลังงานด้วยไขมันในทันที ร่างกายจะใช้โหมด energy storage แทน อินซูลินที่หลั่งกำลังบอกเราเรากำลังเอาอาหารเข้าไปสะสมนั่นเองครับ ซึ่งอาหารที่เป็น unprocessed carbohydrate จะเกิดในลักษณะที่ใกล้เคียงกันแต่ความชันของกราฟการหลั่งอินซูลินนั้นจะต่ำกว่าและชันน้อยกว่ามาก ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในร่างกายเลยไม่เหมือนกัน
.
เราพอจะมองเห็นแล้วใช่ไหมครับว่า จริงๆแล้วผู้ต้องสงสัยจริงคือใคร ณ ตอนนี้ มันไม่ใช่ แป้ง ไม่ใช่ข้าว แต่มันคือ "น้ำตาล" (sugar) นั่นเอง เพราะน้ำตาลทำให้อินซูลินหลั่งอย่างรวดเร็ว อธิบายให้เห็นภาพว่า ถ้าเรากินน้ำอัดลม 3 กระป๋อง (600 kcal) กับ การทานข้าวกล้อง 600 kcal เช่นเดียวกัน ตัวเลขพลังงานเท่ากัน แต่ความอ้วนที่เกิดขึ้นไม่เท่ากันแน่นอน
.
ทีนี้เราอาจจะบอกว่า ในเมื่อสุดท้ายแล้ว ไม่ว่าจะแป้งอะไรก็ตามก็ต้องย่อยเป็นกลูโคสอยู่ดี แล้วมันจะแตกต่างกันได้อย่างไร เราอธิบายได้ด้วยเรื่องของกราฟการหลั่งอินซูลินด้านต้นนั่นเองครับ ยิ่งร่างกายหยุดหลั่งอินซูลินได้เร็วเท่าไรคือกลับมาแตะเลข 0 ร่างกายเราก็จะเปลี่ยนโหมดพลังงานจากการเก็บ (storage) ไปเป็นการใช้นั่นเองครับ ซึ่งจริงๆโทษของคาร์โบไฮเดรต เราอาจจะโทษน้ำตาลไม่ได้ แต่เราต้องไปโทษที่ ระบบการขัดสีหรือปรุงแต่งอาหาร (process) มากกว่าครับ อะไรก็ตามที่มีรูปร่างแตกต่างจากธรรมชาติมากเท่าไร นั่นแปลว่ายิ่งผ่านการแปรรูปมามากเท่านั้น ในอีกนัยยะคือยิ่งทำให้อินซูลินหลั่งมากขึ้นนั่นเอง
.
ทวนอีกครั้งนะครับ คร่าวๆ
อินซูลิน (Insulin) หลั่งมาก ทำให้ ร่างกายอยู่ในสภาวะสะสมพลังงาน เปลี่ยน glucose ให้กลายเป็น triglyceride (fat) ลดการเผาผลาญไขมัน (lipolysis)
อินซูลิน ไม่หลั่ง ทำให้ ร่างกายอยู่ในสภาวะการใช้พลังงาน เกิดการเผาผลาญไขมัน (lipolysis) เกิดการสร้างกลูโคสใหม่จากไขมัน (gluconeogenesis)
.
ผลลัพธ์ของการทำให้อินซูลินหลั่งมากและหลั่งอยู่ตลอดระยะเวลาเป็นเวลานานๆ คืออะไรครับ นั่นคือ ภาวะการดื้ออินซูลิน (Insulin resistance) นั่นเอง และภาวะการดื้ออินซูลินคือจุดเริ่มต้นของปัญหาอีกทั้งปวงที่จะตามมา
.
insulin resistance 在 Kit Mah Facebook 的精選貼文
It is important to start your day with a nutritious meal and that is why I am incorporating Australian Avocados into my diet! Australian Avocados are known as a nutrient dense superfood and they contain vitamin B that can help boost your energy levels to kickstart the day!
I recommend this for anyone keen on healthy eating, on the 'Ketogenic diet' or doing intermittent fasting. Since avocados are low in carbs and sugar, this is also good for those managing their insulin resistance or type 2 diabetes.
The combination of flavours is amazing, just like a Malaysian nasi lemak but with my twist using cauliflower rice and pairing it with creamy Australian avocado and the spiciness of the local sambal. This meal tastes awesome, if you want a healthier version of a nasi lemak, do try it!
Caulirice Nasi Lemak with Australian Avocado
Ingredients:
1/2 Australian Avocado, sliced
150g Cauliflower rice
120g Grass-Fed Beef
2 Eggs
10g Anchovies
1 tbsp Sambal, store-bought ( I used a healthier, low calorie option and sweetened it slightly using lakanto sugar)
Virgin Coconut Oil, to cook
Instructions:
1) In a pan, heat some virgin coconut oil and add cauliflower rice. Stir-fry until well cooked and set aside. Next, fry the anchovies and move to a small bowl. Clean out the pan, add a bit more oil and scramble the eggs.
2) In another heated pan, cook your grass-fed beef steak on each side for 2-3 mins. Remove from pan and let it rest before slicing it.
3) On a plate, arrange the cauliflower rice, fried anchovies, scrambled eggs, sliced Australian avocado and sambal. Enjoy!
This recipe is simple and easy to follow if you're craving for some Nasi Lemak!
#TasteAustralia
#AforAustralianAvocados
#AustralianAvocados
@tasteaustraliamy
insulin resistance 在 長谷川ろみの腸活研究所 Youtube 的精選貼文
スーパーの野菜売り場に映える、真っ赤な根菜と言えば、ビーツ。
まだまだめずらしい野菜ですが、ここ数年で見かけることも多くなってきました。
実はこの「ビーツ」、ヒトの腸内に届くと痩せ菌を増やしてくれるという研究結果があるんです。
↓文字で読みたい方はこちら↓
甘酒とビーツは兄弟かもしれない。
https://note.com/haseromi/n/n0966fa477004
↓一足早く聞きたい方はStand.fmをフォローしてね↓
https://stand.fm/channels/5f52b6d26a9e5b17f7a5dfb2
-----------------------------------------------------------------------
▼参考文献
-----------------------------------------------------------------------
※1 Red pitaya betacyanins protects from diet-induced obesity, liver steatosis and insulin resistance in association with modulation of gut microbiota in mice.
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/26699443
※2 テーブルビートおよびカクタスペア果汁中の含窒素色素ベタレインの抗酸化性と吸収動態
https://www.jstage.jst.go.jp/article/nskkk/64/2/64_51/_pdf
※この内容は、診断・治療または医療アドバイスを提供しているわけではありません。あくまで情報提供のみを目的としています。
※診断や治療に関する医療については、医師または医療専門家に相談してください。この内容は医療専門家からのアドバイスに代わるものでもありません。
-----------------------------------------------------------------------
▼連絡先等
-----------------------------------------------------------------------
腸活に関するご相談やお仕事依頼:hasegawaromi63@gmail.com
#腸活
#ダイエット
#発酵食品
insulin resistance 在 長谷川ろみの腸活研究所 Youtube 的最讚貼文
糖質制限ダイエットは効果が出やすいダイエットの一つだけど、一方で「お米ダイエット」という、逆すぎるダイエット法もあるらしい…。
一体何を信じたらいいのだ…と思う方に向けて、ダイエット中のお米とのつき合い方についてまとめてみました。
-----------------------------------------------------------------------
▼参考文献
-----------------------------------------------------------------------
Dietary carbohydrate intake and mortality: a prospective cohort study and meta-analysis
https://www.thelancet.com/journals/lanpub/article/PIIS2468-2667(18)30135-X/fulltext
Contributions of brain insulin resistance and deficiency in amyloid-related neurodegeneration in Alzheimer's disease
https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/22191795/
High Endogenous Salivary Amylase Activity Is Associated with Improved Glycemic Homeostasis following Starch Ingestion in Adults
https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/22492122/
-----------------------------------------------------------------------
▼公式LINEアカウント「長谷川ろみの腸活研究所」
-----------------------------------------------------------------------
https://lin.ee/gqyRTHT
【 ⬇︎お友達追加でプレゼント⬇︎ 】
🎁基本の腸もみメニューシート 1枚
LINEでプレゼントやご案内をしてるので、ぜひフォローしておいてください🤗
※フォローできない場合は「@bea9895u」で友達ID検索してみてください。
もしくはこの活動詳細ページにQRコードがあるよ~!
https://lit.link/hasegawaromi
-----------------------------------------------------------------------
▼【無料】メルマガで腸活はじめて講座
-----------------------------------------------------------------------
https://www.chounaikankyou.club/mailmagazine
【 ⬇︎購読したらプレゼント⬇︎ 】
🎁うんちログシート(Excel版) 1枚
5日間で学ぶ、腸活のはじめの一歩です。腸活ダイエットにご興味がある方の基礎のおさらいにも!メルマガでもプレゼントやご案内をしているので、購読しておいていただけるとうれしいです。
※ご注意
購読できないとのお問い合わせが増えています!!上記URLから登録した後に「登録認証メール」が届きます。「登録認証メール」に認証しないと、メルマガが届きませんのでご注意ください。
-----------------------------------------------------------------------
▼関連動画
-----------------------------------------------------------------------
ダイエット中こそ食べて!実は痩せるお米の食べ方【糖質制限】
https://www.youtube.com/watch?v=9MYrSZaegy0
【お米ダイエット】間違えると絶対に太る!お米を食べて後悔していること。お米の正しい食べ方教えます!【糖質制限やめた】
https://www.youtube.com/watch?v=v_FIlDY6fC8
痩せるお米の量とは?総摂取カロリー別に詳しく説明します。
https://www.youtube.com/watch?v=U-6w3pDwTx8
お米を食べても痩せる3つのポイント【ダイエット中・減量中】
https://www.youtube.com/watch?v=lCNT31FkFPs
【衝撃】プロのダイエット講師が教える!太らない炭水化物の食べ方
https://www.youtube.com/watch?v=N2ZVXdxQ8c0
-----------------------------------------------------------------------
▼免責事項
-----------------------------------------------------------------------
※各動画内で紹介している方法は、いかなる効果をも確実に保証するものではありません。従って、いかなる場合でも動画制作者は一切の責任を追うものではございません。実行の際は、各自の責任と判断のもとで行ってくださるようお願いいたします。
※この動画は、診断・治療または医療アドバイスを提供しているわけではありません。あくまで情報提供のみを目的としています。
※診断や治療に関する医療については、医師または医療専門家に相談してください。この動画は医療専門家からのアドバイスに代わるものでもありません。
※以上をご留意のうえ、ぜひご自身の健康や腸内環境、そして腸内細菌に向き合う時間をほんの数分でも増やしていただけますと幸いです。
-----------------------------------------------------------------------
▼著作権者(著者、訳者、出版社)のみなさま
-----------------------------------------------------------------------
当チャンネルの書籍紹介動画については、書籍で得た知識を元にを制作しております。あくまでも、書籍の内容紹介、解説をするにとどめ、原著作物の表現に対する複製・翻案とはならないよう構成し、まず何より著者の方々、出版・報道に携わる方々への感謝と敬意を込めたチャンネル運営を心懸けております。もし行き届かない点があり、動画の削除などご希望される著作権者の方は、迅速に対応させていただきますので、お手数お掛けしまして恐れ入りますが、下記の方法にてご連絡いただけますと幸いです。引き続き、つくり手の方への感謝と敬意を込めてチャンネルを運営していきますので、今後とも宜しくお願いいたします。
-----------------------------------------------------------------------
▼連絡先等
-----------------------------------------------------------------------
腸活に関するご相談やお仕事依頼:hasegawaromi63@gmail.com
(個人用SNS)
Twitter: https://twitter.com/hasegawaromi/
Instagram: https://www.instagram.com/hasegawaromi/
メディア: https://www.chounaikankyou.club/
活動概要:https://lit.link/hasegawaromi
#ダイエット
#お米ダイエット
#糖質制限
insulin resistance 在 長谷川ろみの腸活研究所 Youtube 的最佳貼文
スルフォラファンって知ってます?
舌かみそうですよね。ええ、ほんと。
でもそれでもちょっとお話しておきたいぐらい、すごいんです。
ダイエットだけでなく腸活にも(*^▽^*)
#ダイエット
#脂肪燃焼
#デブ菌を減らす
-----------
▽長谷川ろみの活動概要
・元おデブ-20kg/アラフォー
・発酵ライフ推進協会 通信校 校長 &プロデュース
・東京商工会議所認定 健康経営アドバイザー
・腸活メディア「腸内革命」編集長 & 講師
・著書「発酵菌早わかりマニュアル」
・2019/6~腸活youtuber始めました!
Twitter:https://twitter.com/haseromi
Instagram:https://www.instagram.com/hasegawaromi/
-----------
▼関連動画
体脂肪率を減らす方法!痩せ菌を増やす食べ物はコレだった♪【ダイエット食事で痩せる】
https://www.youtube.com/watch?v=VQQRUEGkHwU
デブ菌が減り太りにくい痩せやすい体になる食品とは?デブ菌が増えると太る理由や食べ物とは?知ってよかった雑学
https://www.youtube.com/watch?v=hU0K5uLzAXk
ダイエット前に見て!あなたのデブ菌痩せ菌バランスを簡単に調べる方法【腸内フローラ検査キンログ】
https://www.youtube.com/watch?v=kiSVJCDI7Tc
脂肪燃焼の絶対条件!これを外すと食事制限しても痩せない
https://www.youtube.com/watch?v=9gDXbhSrKQg&t=136s
【便秘必見】脂肪燃焼スープダイエット5日間続けてみた
https://www.youtube.com/watch?v=4cQ16yhHCoM
▼参考論文&研究
Glucoraphanin Ameliorates Obesity and Insulin Resistance Through Adipose Tissue Browning and Reduction of Metabolic Endotoxemia in Mice
https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/28209760/
ブロッコリー スプラウトの「便通改善作用」を確認
ヒトを対象とした研究結果を筑波大学・谷中教授が報告
https://www.murakamifarm.com/company/release/2017/11/15/002096/
Aqueous Extract of Glucoraphanin-Rich Broccoli Sprouts Inhibits Formation of Advanced Glycation End Products and Attenuates Inflammatory Reactions in Endothelial Cells
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6106845/
※この動画は、診断・治療または医療アドバイスを提供しているわけではありません。あくまで情報提供のみを目的としています。
※診断や治療に関する医療については、医師または医療専門家に相談してください。この動画は医療専門家からのアドバイスに代わるものでもありません。
insulin resistance 在 Dr. Jason Fung - 'A New Paradigm of Insulin Resistance' 的推薦與評價
Dr. Jason Fung completed medical school and internal medicine at the University of Toronto before finishing his nephrology fellowship at the ... ... <看更多>