ในช่วงชีวิตวัยมัธยมปลายของเด็กไทยหลายคน คงหนีไม่พ้น "มหากาพย์การสอบมาราธอน" ที่มากมายก่ายกองเพื่อหวังให้ตัวเองได้เข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยทันทีที่เรียนจบชั้นมัธยมปลาย
.
เพราะถ้าหากใครจบมาเเล้วไม่มีที่เรียนต่อขึ้นมาละก็... คงจะเดากันออกนะครับ ว่าต้องเจอกับอะไร ?
.
อย่างไรก็ตาม เมื่อเด็กเหล่านี้ได้เข้าไปเรียนในมหาลัยเเล้ว หลายครั้งก็ต้องพบเจอกับปัญหามากมาย ไม่ว่าจะเป็นการเลือกเรียนผิดที่ ลงคณะผิดทาง ผลการเรียนตกต่ำ เรียนไปเเล้วเพิ่งจะรู้ว่ามันไม่ใช่ อยากจะซิ่วมาเรียนใหม่ก็ไม่ได้ เพราะอาจจะโดนเบื้องบนเอาถึงตาย เเละยังมีคนอีกจำนวนไม่น้อยเลยที่พวกเขาเรียนจบมาเเล้วก็ยัง “ค้นหาตัวเองไม่เจอ”
.
สถานการณ์เเบบนี้ เราอาจได้ยินกันคุ้นหูจนกลายเป็นเรื่องปกติในสังคมไทยไปเเล้ว...
.
เเต่มันไม่ใช่กับ “เด็กอเมริกัน” ครับ !
.
เพราะสำหรับเด็กอเมริกันเมื่อพวกเขาเรียนจบชั้นมัธยมปลาย พวกเขาจะไม่ได้เข้าไปเรียนต่อในมหาวิทยาลัยทันที เเต่จะหยุดเรียนก่อน 2 ปี หรือ ที่เรียกกันว่า Gap Year เพื่อใช้เวลาอันมีค่านี้ในการ “ค้นหาตัวเอง”
.
สมาคม American Gap Association ระบุว่าในแต่ละปีมีนักเรียน 30,000-40,000 คน เลือกที่จะใช้เวลา 1-2 ปี ก่อนเข้ามหาวิทยาลัย เพื่อ ”ค้นหาตัวเอง”
.
โดยการไปสมัครงาน Part time, ทำงานจิตอาสา, สอนพิเศษ, ไปลงเรียนคอร์สระยะสั้นในสิ่งที่ตัวเองสนใจ, เรียนทำอาหาร, เรียนกีฬา หรือออกเดินทางท่องเที่ยวหาประสบการณ์เพื่อเรียนรู้วัฒนธรรมใหม่ๆ ฯลฯ
.
จนกว่าพวกเขาจะค้นพบว่าตัวเองนั้นชอบอะไร เเล้วถึงจะกลับมาเรียนต่อระดับมหาวิทยาลัยในสิ่งที่ “ตัวเองชอบจริงๆ”
.
ซึ่งไม่ใช่เเค่เด็กทั่วไปเท่านั้น เพราะเเม้เเต่ “มาเลีย โอบามา” ลูกสาวคนโต วัย 17 ปี (ในตอนนั้น) ของอดีตประธานาธิบดีสหรัฐฯ คนที่ 44 ก็ยังหยุดเรียน 1 ปี เพื่อใช้เวลา “ค้นหาตัวเอง” เหมือนกับเด็กคนอื่นๆในวัยเดียวกัน ก่อนที่เธอจะเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัย Harvard
.
นอกจากนี้มหาวิทยาลัย Harvard เองก็ยังเขียนไว้ในเว็บไซต์ของตัวเองอีกด้วยว่า “นักเรียนยุคปัจจุบันส่วนมากนั้นต้องผ่านการแข่งขันที่ตึงเครียดมาในช่วงก่อนสมัครเข้ามหาวิทยาลัย”
.
เพราะบางครั้งมันอาจทำให้นักเรียนจำนวนหนึ่งถึงกับจิตตก หากพวกเขาเลือกเข้ามาเรียนในสาขาที่ผิด เเล้วผลการเรียนเกิดออกมาไม่ดี จนทำให้เกิดความเครียด ความกดดัน
.
มันจะยิ่งทำให้เสี่ยงต่อการที่พวกเขาจะดำเนินชีวิตไปในเส้นทางที่ผิดในช่วงเรียนมหาลัย จนสุดท้ายก็อาจหันไปพึ่งเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือไม่ก็อาจจะหลุดจนเสียคนไปเลย
.
นักการศึกษาจึงเชื่อว่าการใช้เวลาก่อนเข้าเรียนเพื่อสะท้อนถึงชีวิตช่วงที่ผ่านมาจึงมีประโยชน์ต่อเด็กในช่วงวัยนี้มากที่สุด เพราะมันทำให้พวกเขาสามารถดำเนินชีวิตไปได้อย่างมีเป้าหมายที่ชัดเจน !
.
.
.
“เปลี่ยนตัวเองเป็นคนที่ดีขึ้น ด้วยการอ่านหนังสือดีๆ สักเล่ม”
.
แต่ถ้าไม่รู้ว่าตัวเองควรอ่านเล่มไหน ทักมาปรึกษาสมองไหลได้เลย
.
สั่งซื้อหนังสือออนไลน์ง่ายๆ ส่งตรงถึงหน้าบ้านคุณ ได้ที่ Inbox เพจ #สมองไหล
.
.
#อเมริกัน #นักศึกษา #สอบเข้า #เอ็นตรง #gatpat #มหาลัย #gapyear #สมองไหล #รับปริญญา #รับบัณฑิต
同時也有10000部Youtube影片,追蹤數超過2,910的網紅コバにゃんチャンネル,也在其Youtube影片中提到,...
「gap year association」的推薦目錄:
gap year association 在 FAM Facebook 的精選貼文
จำคำพี่ไว้ไอ้น้อง ชีวิตเกิดมาครั้งเดียว เลือกทางให้ถูก ไม่งั้นจะโดนดูถูกตลอดชีวิต
ในช่วงชีวิตวัยมัธยมปลายของเด็กไทยหลายคน คงหนีไม่พ้น "มหากาพย์การสอบมาราธอน" ที่มากมายก่ายกองเพื่อหวังให้ตัวเองได้เข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยทันทีที่เรียนจบชั้นมัธยมปลาย
.
เพราะถ้าหากใครจบมาเเล้วไม่มีที่เรียนต่อขึ้นมาละก็... คงจะเดากันออกนะครับ ว่าต้องเจอกับอะไร ?
.
อย่างไรก็ตาม เมื่อเด็กเหล่านี้ได้เข้าไปเรียนในมหาลัยเเล้ว หลายครั้งก็ต้องพบเจอกับปัญหามากมาย ไม่ว่าจะเป็นการเลือกเรียนผิดที่ ลงคณะผิดทาง ผลการเรียนตกต่ำ เรียนไปเเล้วเพิ่งจะรู้ว่ามันไม่ใช่ อยากจะซิ่วมาเรียนใหม่ก็ไม่ได้ เพราะอาจจะโดนเบื้องบนเอาถึงตาย เเละยังมีคนอีกจำนวนไม่น้อยเลยที่พวกเขาเรียนจบมาเเล้วก็ยัง “ค้นหาตัวเองไม่เจอ”
.
สถานการณ์เเบบนี้ เราอาจได้ยินกันคุ้นหูจนกลายเป็นเรื่องปกติในสังคมไทยไปเเล้ว...
.
เเต่มันไม่ใช่กับ “เด็กอเมริกัน” ครับ !
.
เพราะสำหรับเด็กอเมริกันเมื่อพวกเขาเรียนจบชั้นมัธยมปลาย พวกเขาจะไม่ได้เข้าไปเรียนต่อในมหาวิทยาลัยทันที เเต่จะหยุดเรียนก่อน 2 ปี หรือ ที่เรียกกันว่า Gap Year เพื่อใช้เวลาอันมีค่านี้ในการ “ค้นหาตัวเอง”
.
สมาคม American Gap Association ระบุว่าในแต่ละปีมีนักเรียน 30,000-40,000 คน เลือกที่จะใช้เวลา 1-2 ปี ก่อนเข้ามหาวิทยาลัย เพื่อ ”ค้นหาตัวเอง”
.
โดยการไปสมัครงาน Part time, ทำงานจิตอาสา, สอนพิเศษ, ไปลงเรียนคอร์สระยะสั้นในสิ่งที่ตัวเองสนใจ, เรียนทำอาหาร, เรียนกีฬา หรือออกเดินทางท่องเที่ยวหาประสบการณ์เพื่อเรียนรู้วัฒนธรรมใหม่ๆ ฯลฯ
.
จนกว่าพวกเขาจะค้นพบว่าตัวเองนั้นชอบอะไร เเล้วถึงจะกลับมาเรียนต่อระดับมหาวิทยาลัยในสิ่งที่ “ตัวเองชอบจริงๆ”
.
ซึ่งไม่ใช่เเค่เด็กทั่วไปเท่านั้น เพราะเเม้เเต่ “มาเลีย โอบามา” ลูกสาวคนโต วัย 17 ปี (ในตอนนั้น) ของอดีตประธานาธิบดีสหรัฐฯ คนที่ 44 ก็ยังหยุดเรียน 1 ปี เพื่อใช้เวลา “ค้นหาตัวเอง” เหมือนกับเด็กคนอื่นๆในวัยเดียวกัน ก่อนที่เธอจะเข้าศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัย Harvard
.
นอกจากนี้มหาวิทยาลัย Harvard เองก็ยังเขียนไว้ในเว็บไซต์ของตัวเองอีกด้วยว่า “นักเรียนยุคปัจจุบันส่วนมากนั้นต้องผ่านการแข่งขันที่ตึงเครียดมาในช่วงก่อนสมัครเข้ามหาวิทยาลัย”
.
เพราะบางครั้งมันอาจทำให้นักเรียนจำนวนหนึ่งถึงกับจิตตก หากพวกเขาเลือกเข้ามาเรียนในสาขาที่ผิด เเล้วผลการเรียนเกิดออกมาไม่ดี จนทำให้เกิดความเครียด ความกดดัน
.
มันจะยิ่งทำให้เสี่ยงต่อการที่พวกเขาจะดำเนินชีวิตไปในเส้นทางที่ผิดในช่วงเรียนมหาลัย จนสุดท้ายก็อาจหันไปพึ่งเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือไม่ก็อาจจะหลุดจนเสียคนไปเลย
.
นักการศึกษาจึงเชื่อว่าการใช้เวลาก่อนเข้าเรียนเพื่อสะท้อนถึงชีวิตช่วงที่ผ่านมาจึงมีประโยชน์ต่อเด็กในช่วงวัยนี้มากที่สุด เพราะมันทำให้พวกเขาสามารถดำเนินชีวิตไปได้อย่างมีเป้าหมายที่ชัดเจน !
.
.
.
#อเมริกัน #นักศึกษา #สอบเข้า #เอ็นตรง #gatpat #มหาลัย #gapyear #สมองไหล
gap year association 在 Soh Wai Ching - Athlete Facebook 的最佳解答
Thanks Towerrunning World Association for feature me in this article! My first podium in Towerrunning Tour Race! Throwback Moscow Russia race on 21st July.
#OstankinoTowerRun #MasTowerRunner
Race Report
Towerrunning 200 & WFGT Challenge
Ostankino Tower Run - Moscow - July 21
On July 21, the first ever Towerrunning Tour race took place in Russia. The venue for the race would be the Ostankino Tower, a television and radio tower in Moscow. The tower was previously the tallest free-standing structure in the world from its completion in 1967 (to mark the 50th anniversary of the October Revolution) until 1975 and is still the tallest free-standing structure in Europe topping out at 540m.
The race itself would be 1,704 steps to the main observation deck at a height of 337m. Previously, ten national championship races had been held at the venue with the last edition taking place in 2000 before a serious fire at the tower only a few months later. The course record stood at 11:55.
A total of 27 athletes would be competing in the race – 23 TWA athletes from the Czech Republic, Germany, Italy, Malaysia, Mexico, Mongolia, Poland, Slovakia, the UK and the USA as well as four competitors from the host nation.
Pre-race favourites in the men’s race were recently crowned World Champion Piotr Łobodziński from Poland and world ranked #1 Christian Riedl from Germany. Łobodziński had been unbeaten so far in 2018 but Riedl had shown excellent form recently, winning Tour races in both Benidorm and Frankfurt in Piotr’s absence.
In the women’s race, the likely victor looked to be either world #2 Cindy Harris from the USA or Poland’s Dominika Wiśniewska-Ulfik. Amongst the domestic runners was Tatiana Avdeeva, winner of the 2010 Super Cup Moscow – Luzhniki half-marathon in a time of 1:20:29. How would the local star stack up against the established tower runners?
As race day dawned, the TWA athletes made their way from the hotel for an 8am rendez-vous at the race venue. Low level cloud meant we could barely see the observation deck of the tower!
Once through security and a pre-race medical, the athletes had a race briefing followed by a warm-up prior to the race start. The race would be in the usual time-trial format with a 30 second gap between participants. Start order would be determined by the most recent TWA rankings. The gents were first to depart with the ladies to follow.
Christian was first off the line as the newly ranked world #1, with Piotr chasing him!
Less than ten minutes later and with the course record smashed, Christian crossed the line in 9:51.8. Could Piotr beat him and maintain his 2018 unbeaten record? Piotr recorded a time of 9:52.6 – unbelievably only 0.8 seconds separated them! This was sweet revenge for Christian after last November’s Shanghai race with Piotr the winner that time by 0.9 seconds!
Slovak Tomáš Čelko proved he is coming back into form taking the final podium place in a time of 10:27. Tomáš will certainly be looking forward to defending his VBB crown in September and will arguably be in a stronger position this time around without the Donauturm race featuring. Rising star Wai Ching Soh from Malaysia finished in 4th just under 3 seconds behind Tomáš with Poland’s Paweł Ruszała rounding out the top five in a time of 10:48.
In the ladies’ race, Cindy Harris won comfortably by over 30 seconds in 12:15 making the trip all the way from Indianapolis, USA a worthwhile one and her points haul will help cement her position as the world #2 despite turning 50 years of age at the end of this year.
The runners-up spot went to Dominika Wiśniewska-Ulfik, clocking 12:48. Dominika admitted after the race that she needed more arm strength to have gone faster on what must be the steepest set of stairs ever tackled in a stair race! To say the final section resembled a set of ladders would not be such an understatement.
A typically gutsy performance from Italian Cristina Bonacina was enough to take 3rd place in 14:14, 12 seconds ahead of Mexican Maria Elisa Lopez with Great Britain’s Sonja Shakespeare 5th lady in 15:09. Local athlete Tatiana Avdeeva was the first local athlete home stopping the clock in a respectable 15:24 to finish in 6th place.
Following the prize giving ceremony, the athletes returned to the tower for a splendid lunch just below the observation deck affording fantastic views of Moscow from over 300m up.
A special thank you to the organisers for putting on such a great event and for working tirelessly with the TWA to make this race happen. We hope to be back!
DH