Canon EOS R3 นิยามใหม่แห่งความเร็วและประสิทธิภาพที่เหนือกว่า
เซนเซอร์ Stacked CMOS โดยใช้การสะท้อนแสงกลับ มาพร้อมชิปประมวลผลภาพ DIGIC X
เซนเซอร์ Stacked CMOS โดยใช้การสะท้อนแสงกลับ ได้รับการพัฒนาขึ้นใหม่ โดยมีความละเอียด 24.1 ล้านพิกเซล ที่เพิ่มขึ้นประมาณ 20% เมื่อเทียบกับ Canon EOS-1DX Mark III และ Canon EOS R6
นอกจากนี้ ยังมีประสิทธิภาพเหนือกว่า Canon EOS 5D Mark IV ที่มีความละเอียด 30.4 ล้านพิกเซล สำหรับกล้อง Canon EOS R3 มาพร้อมกับชิปประมวลผลภาพ DIGIC X ที่สามารถประมวลผลภาพด้วยความเร็วสูง ซึ่งทำให้กล้องรุ่นนี้อัดแน่นด้วยฟีเจอร์อันล้ำสมัยและเป็นกล้องมิเรอร์เลสที่ยอดเยี่ยมที่สุดในตระกูล Canon EOS โดยมีจุดเด่นด้านความรวดเร็วและความแม่นยำในการจับภาพ จึงทำให้บันทึกภาพและวิดีโอออกมาได้อย่างสมบูรณ์แบบ
ประสิทธิภาพในการถ่ายภาพความเร็วสูง
อิเล็กทรอนิกส์ชัตเตอร์และแมคคานิกชัตเตอร์ของ Canon EOS R3 ถ่ายภาพต่อเนื่องสูงสุด 30 เฟรมต่อวินาที และ 12 เฟรมต่อวินาที ตามลำดับ พร้อมการติดตามออโต้โฟกัสวัตถุและวัดแสงอัตโนมัติ (AF/AE Tracking) และยังได้รับการออกแบบให้มีความเร็วชัตเตอร์สูงถึง 1/64,000 วินาที เมื่อใช้โหมดอิเล็กทรอนิกส์ชัตเตอร์ ทำให้จับภาพวัตถุที่กำลังเคลื่อนไหวด้วยความเร็วสูง หรือใช้ร่วมกับเลนส์ที่มีรูรับแสงกว้างจะสามารถทำงานในที่สภาพแสดงน้อยได้ดี
นอกจากนี้ Canon EOS R3 ยังมาพร้อมกับช่องใส่การ์ดคู่สำหรับการ์ด CFExpress (Type-B) ที่อ่านข้อมูลด้วยความเร็วสูงและเชื่อถือได้ และการ์ด SD (UHS-II) ซึ่งช่วยให้บันทึกข้อมูลภาพได้อย่างรวดเร็ว โดยทำงานควบคู่กับความสามารถในการประมวลผลด้วยความเร็วสูงอย่าไม่น่าเชื่อของชิปประมวลผลภาพ DIGIC X ทำให้เข้าถึงเมนูต่างๆ และเปลี่ยนการตั้งค่าได้ในขณะที่กำลังบันทึกข้อมูลลงในบนการ์ด
คุณภาพที่เหนือกว่าของภาพถ่ายและวิดีโอ
สำหรับการถ่ายภาพนิ่ง กล้อง Canon EOS R3 มีค่าความไวแสงเริ่มต้นที่ 100 ถึง 102,400 (ขยายได้ถึง 204,800) และสำหรับการถ่ายวิดีโอมีค่าความไวแสงที่ 100 ถึง 25,600 (ขยายได้ถึง 102,400) จากประสิทธิภาพในการอ่านข้อมูลด้วยความเร็วสูงของเซนเซอร์ Stacked CMOS ทำให้ลดการผิดเพี้ยนและความบิดเบี้ยวจากการถ่ายวัตถุที่เคลื่อนไหวเร็ว (Rolling Shutter Distortion) ช่วยในการถ่ายภาพกีฬาที่มีการเคลื่อนไหวรวดเร็วหรือการแพนกล้องอย่างรวดเร็ว
นอกจากนี้ ยังบันทึกภาพในรูปแบบไฟล์ HEIF ที่มีความละเอียดของสีที่ 10-บิต ซึ่งสามารถแปลงไฟล์ HEIF ให้เป็นภาพ JPEG ที่มีลักษณะเหมือน HDR PQ ได้ภายในตัวกล้อง ทำให้เห็นรายละเอียดในส่วนไฮไลต์และเงาได้มากขึ้น และด้วยโหมด HDR นี้ผู้ใช้จะได้ไฟล์ HEIF ที่มีไดนามิกเรนจ์กว้างขึ้นจากการรวมไฟล์ HEIF 3 ภาพ ภายในเวลา 0.02 วินาที ซึ่งทำให้การถ่ายภาพ HDR ด้วยมือเปล่าเป็นเรื่องง่าย
นอกจากนี้ กล้อง Canon EOS R3 ยังมีฟีเจอร์เหมือนกับ EOS R5 และ R6 ในส่วนของระบบป้องกันภาพสั่นไหวในตัว (In-Body IS) สูงสุด 5.5 สต็อป และเมื่อใช้งานคู่กับเลนส์ RF จะได้ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นถึง 8 สต็อป ทำให้สามารถถ่ายภาพโดยไม่ต้องใช้ขาตั้งกล้องได้ง่ายดายขึ้น
พร้อมด้วยฟีเจอร์ที่ตอบสนองความต้องการในการผลิตภาพยนตร์ที่สามารถบันทึกภาพเคลื่อนไหวที่ให้มุมมองแบบฟูลเฟรมขนาด 6K 60p RAW หรือ 4K 120p 10-บิต สำหรับผู้ใช้ที่ต้องการวิดีโอคุณภาพที่ดีที่สุดสามารถบันทึกไฟล์ที่ขนาด 4K 60p (จาก 6K oversampling) เลือกบันทึกไฟล์ได้ทั้งแบบ Canon Log 3 และ HDR PQ ซึ่งให้ผู้ใช้สามารถจัดการกับกระบวนการหลังการผลิตได้หลายรูปแบบ
โฟกัสอัจฉริยะและแม่นยำ
Canon EOS R3 นับเป็นกล้องดิจิทัลตัวแรกของแคนนอนที่มีฟังก์ชันการควบคุมออโต้โฟกัสด้วยดวงตา (Eye Control AF)
หลังจากกล้อง Canon EOS 7s เปิดตัวในปี 2004 ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่จะทำการเลือกกรอบออโต้โฟกัสโดยการตรวจจับการเคลื่อนไหวของม่านตาของผู้ใช้ขณะถ่ายภาพนิ่ง มาพร้อม LED และเซนเซอร์หลายตัวภายในช่องมองภาพอิเล็กทรอนิกส์ (EVF) ที่พัฒนาขึ้นใหม่เพื่อทำให้สามารถโฟกัสภาพได้อย่างรวดเร็วเมื่อต้องการเปลี่ยนโฟกัสไปยังวัตถุใหม่โดยไม่จำเป็นต้องกดปุ่มและใช้ปุ่มควบคุม โดยเฉพาะการถ่ายภาพกีฬาแข่งรถและวัตถุที่เคลื่อนที่เร็ว
สำหรับระบบออโต้โฟกัสติดตามดวงตา (Eye Detection AF) ในกล้องรุ่นนี้ได้รับการพัฒนาด้วยเทคโนโลยีการเรียนรู้เชิงลึก โดยกล้องสามารถโฟกัสที่ดวงตาได้แม้ใบหน้าจะถูกบดบังบางส่วน นอกจากนี้ในระบบออโต้โฟกัสติดตามศีรษะ (Head Detection AF) ยังมีการพัฒนาให้ดีขึ้นเช่นกัน เมื่อนักกีฬาสวมหมวกนิรภัยหรือแว่นตาก็ยังคงสามารถโฟกัสได้อย่างมั่นใจในการถ่ายภาพกีฬาความเร็วสูง
อีกทั้งยังมีการเพิ่มระบบออโต้โฟกัสติดตามยานพาหนะ (Vehicle Priority AF) แบบใหม่ที่จะสร้างความตื่นตาตื่นใจให้กับช่างภาพมอเตอร์สปอร์ต โดยระบบโฟกัสนี้สามารถตรวจจับรถยนต์และรถจักรยานยนต์ได้อย่างแม่นยำ ตลอดจนสามารถตรวจจับหมวกกันน็อคของคนขับได้เมื่อเปิดการใช้งานการติดตามเฉพาะจุด
อีกหนึ่งคุณสมบัติอันทรงพลังที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างเซนเซอร์ใหม่และชิปประมวลผลภาพ DIGIC X คือการติดตามที่แม่นยำมากขึ้น โดยสามารถคำนวณและติดตามออโต้โฟกัสได้สูงสุด 60 เฟรมต่อวินาที ซึ่งถือเป็นความสามารถที่มากกว่า Canon EOS-1DX Mark III และ Canon EOS R5 ถึงสามเท่า ทำให้ง่ายต่อการติดตามวัตถุที่เลี้ยวและเปลี่ยนทิศทางอย่างรวดเร็ว เช่น นักสกีหรือนักกีฬามอเตอร์สปอร์ต
และด้วยขีดจำกัดของออโต้โฟกัสในการถ่ายภาพที่แสงน้อยได้ถึง EV-7.5 ทำให้สามารถโฟกัสวัตถุในสภาพแวดล้อมที่มืดสนิทจนสายตามนุษย์ยากที่จะมองเห็น
การเชื่อมต่ออันไร้ที่ติสำหรับ Swift Transfer
ในบรรดากล้องแคนนอนทุกรุ่น Canon EOS R3 นับว่ามีคุณสมบัติการเชื่อมต่อที่ดีที่สุด ซึ่งมีทั้ง Bluetooth Wi-Fi และ GPS เป็นโหมดมาตรฐานในตัวกล้อง นอกจากนี้ ยังมี Wi-Fi สองคลื่นความถี่ที่รองรับ FTP และ FTPS พร้อมด้วย WPA3 เพื่อเพิ่มความปลอดภัยสำหรับช่างภาพสื่อมวลชน การเชื่อมต่อผ่านสาย LAN ช่วยให้ถ่ายโอนไฟล์ไปยังเซิร์ฟเวอร์ FTP FTPS หรือ SFTP ได้อย่างรวดเร็ว
ซึ่งความสามารถทั้งหมดนี้ทำได้โดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์เสริมเพิ่มเติม พร้อมกันนี้ แคนนอนยังมีแอปพลิเคชันมือถือ Mobile File Transfer ที่รองรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ 5G เพื่อการถ่ายโอนรูปภาพจากกล้องไปยังสมาร์ทโฟนได้อย่างรวดเร็วสามารถใช้งานผ่านสาย USB และถ่ายโอนรูปภาพจากจุดที่ถ่ายภาพไปยังเซิร์ฟเวอร์ระยะไกลได้รวดเร็ว
ความทนทานและการใช้งาน
Canon EOS R3 ตอบสนองการใช้งานระดับมืออาชีพด้วยการซีลป้องกันฝุ่นและละอองน้ำ ตลอดจนมีชัตเตอร์ที่ทนทานเช่นเดียวกับ Canon EOS-1DX Mark III โดยกล้องมาพร้อมหน้าจอแอลซีดีระบบสัมผัสแบบปรับหมุนได้ขนาด 3.2 นิ้ว (3:2) เป็นครั้งแรก พร้อมความละเอียดประมาณ 4.15 ล้านจุด ซึ่งสูงที่สุดที่กล้องแคนนอนเคยมีมา
นอกจากนี้แคนนอนยังได้พัฒนาช่องมองภาพอิเล็กทรอนิกส์แบบ OLED ใหม่ที่มีความละเอียด 5.76 ล้านจุด ด้วยอัตรารีเฟรชเรตที่สูงถึง 120 เฟรมต่อวินาที และไม่เพียงทำให้การแพนกล้องสบายตาเท่านั้น แต่ช่วยลดเวลาหน่วงระหว่างการถ่ายภาพต่อเนื่องอีกด้วย อีกทั้งยังมีปุ่มควบคุมอัจฉริยะ (Smart Controller) แบบเดียวกับที่เปิดตัวครั้งแรกในกล้อง Canon EOS-1DX Mark III ทำให้ผู้ใช้สามารถเลื่อนตำแหน่งโฟกัสไปรอบๆ ได้อย่างรวดเร็วเป็นสองเท่าของปุ่ม AF-ON
พร้อมกันนี้ Canon EOS R3 สามารถใช้งานได้กับชุดแบตเตอรี่ความจุสูง รุ่น LP-E19 ซึ่งช่างภาพสามารถถ่ายภาพได้ทั้งวันด้วยการชาร์จเพียงครั้งเดียวได้อย่างมั่นใจ และสามารถชาร์จแบตเตอรี่จากแบตเตอรี่สำรองที่รองรับ Power Delivery (PD) ผ่านสาย USB-C ที่เข้ากันได้
ในส่วนของบอดี้ที่ดูสง่างามและยิ่งใหญ่ แต่กล้องรุ่นนี้มีขนาดที่เล็กกว่ากล้อง Canon EOS-1DX Mark III ถึง 15% และน้ำหนักเบากว่าถึง 30% (ตามมาตรฐาน CIPA) ด้วยน้ำหนัก 822 กรัม (เฉพาะตัวกล้อง) ซึ่ง Canon EOS R3 มีน้ำหนักที่เบากว่า Canon EOS 5DS เช่นกัน
อุปกรณ์เสริมมัลติฟังก์ชันรูปแบบใหม่
Canon EOS R3 เพิ่มฟังก์ชันการทำงานนอกเหนือจากการถ่ายภาพโดยใช้แฟลช ด้วยชุดอุปกรณ์เสริมใหม่ที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานร่วมกัน ประกอบด้วย
· ไมโครโฟนสเตอริโอแบบดิจิทัลเต็มรูปแบบ รุ่น DM-E1D ที่มาพร้อมคุณสมบัติแบบอนาล็อกเหมือนรุ่น DM-E1 นอกจากจะสามารถบันทึกเสียงดิจิทัลโดยตรงได้แล้ว ยังมีการออกแบบให้ไม่ต้องใช้แบตเตอรี่และสายเคเบิลอีกด้วย โดยการส่งข้อมูลเสียงและจ่ายไฟผ่านช่องแฟลชมัลติฟังก์ชันจากกล้อง และมีปุ่มเมนูบนไมโครโฟนเพื่อช่วยให้เข้าถึงโหมดตั้งค่าการใช้งานภายในเมนูกล้องได้สะดวกรวดเร็ว
· Speedlite Transmitter ST-E10 รุ่นใหม่ที่ทำงานคล้ายกับรุ่น ST-E3-RT ซึ่งออกแบบให้ไม่ต้องใช้แบตเตอรี่และมีปุ่มที่เข้าถึงเมนูได้รวดเร็วเหมือนกับ DM-E1D มีความโดดเด่นอยู่ที่การออกแบบอันกะทัดรัดและมีน้ำหนักลดลง 56% เมื่อเทียบกับรุ่น ST-E3-RT
· อะแดปเตอร์ช่องแฟลชมัลติฟังก์ชัน รุ่น AD-E1 ได้รับการออกแบบมาเพื่อให้กล้อง Canon EOS R3 สามารถใช้กับแฟลช Speedlite รุ่นที่มีซีลป้องกันฝุ่นและละอองหยดน้ำได้ ตัวอย่างเช่น แฟลช Speedlite รุ่น EL-1 และตระกูล 600EX อย่างไรก็ตาม แฟลช Speedlite ที่ไม่มีการออกแบบมาเพื่อป้องกันฝุ่นและละอองน้ำ อาทิ แฟลชตระกุล 430EX และ 270EX สามารถติดตั้งกับ Canon EOS R3 ได้โดยตรง
· อแดปเตอร์ Smartphone Link AD-P1 เป็นอุปกรณ์เสริมสำหรับติดตั้งสมาร์ทโฟนเข้ากับช่องมัลติฟังก์ชันของ Canon EOS R3 โดยสาย USB จะช่วยให้ถ่ายโอนภาพและวิดีโอจากกล้องไปยังสมาร์ทโฟนได้อย่างรวดเร็ว ด้วยแอปพลิเคชันมือถือ Mobile File Transfer ทำให้ช่างภาพสามารถถ่ายโอนภาพความละเอียดสูงเหล่านี้ไปยังเซิร์ฟเวอร์ FTP ที่อยู่ระยะไกลผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่ 5G และยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของช่างภาพในภาคสนามได้เป็นอย่างมาก
ขยายทุกขอบเขตการสร้างสรรค์ด้วยเลนส์ RF ใหม่
เล็กกว่า เบากว่า และดียิ่งขึ้น
ด้วยเส้นผ่านศูนย์กลางขนาดใหญ่และระยะท้ายเลนส์สั้นของเมาท์ RF ในระบบ EOS R Systemทำให้เลนส์ทั้งสองรุ่นนี้มีขนาดกะทัดรัดแต่ยังคงให้ประสิทธิภาพด้านออพติคได้อย่างไร้ที่ติ ทำให้ได้คุณภาพของภาพที่คมยันขอบทั่วทั้งภาพ
สำหรับ RF100-400mm f/5.6-8 IS USM เป็นเลนส์เทเลโฟโต้ที่มีช่วงซูมสูงสุด 400 มม. มาพร้อมความกะทัดรัดของกระบอกเลนส์ที่มีความยาวน้อยกว่า 170 มม. ทำให้ผู้ใช้สามารถพกพาได้สะดวก ด้วยน้ำหนักประมาณ 635 กรัม ถือเป็นเลนส์เทเลโฟโต้ที่มีราคาเป็นมิตรอีกหนึ่งตัวเลือกให้กับลูกค้า ซึ่งเบากว่า RF24-105mm f/4L IS USM อีกทั้งยังมีขนาดใกล้เคียงกับ EF70-300mm f/4.5-5.6 IS II USM แต่มีทางยาวโฟกัสช่วงเทเลโฟโต้มากกว่าถึง 100 มม. มาพร้อมมอเตอร์ Nano USM ทำให้ RF100-400mm f/5.6-8 IS USM สามารถโฟกัสได้อย่างรวดเร็วและราบรื่นตลอดช่วงการซูม ไม่ว่าจะเป็นการภาพนิ่งหรือวิดีโอ ซึ่งถือเป็นเลนส์เริ่มต้นอันยอดเยี่ยมสำหรับผู้ที่สนใจในการถ่ายภาพนกและสัตว์ป่า
นอกจากนี้ ยังสามารถใช้ได้กับอุปกรณ์ขยายระยะเลนส์ Extender RF1.4x หรือ RF 2x เพื่อเพิ่มทางยาวโฟกัสเป็น 1.4 หรือ 2 เท่า เมื่อใช้ร่วมกับกล้องมิเรอร์เลสน้ำหนักเบาของแคนนอน ช่างภาพสามารถเพลิดเพลินกับการถ่ายภาพด้วยช่วงเทเลโฟโต้สูงสุด 800 มม. และสามารถเดินป่าได้ระยะทางไกลหรือถือถ่ายด้วยมือเปล่าได้อย่างสะดวกสบาย
สำหรับเลนส์มุมกว้างพิเศษที่มีรูรับแสงกว้าง f/2.8 โดยปกติจะมีราคาสูง แต่เลนส์ RF16mm f/2.8 STM นับเป็นเลนส์ที่มีราคาเข้าถึงได้ โดยอีกคุณสมบัติที่โดดเด่นของ RF16mm f/2.8 STM อยู่ที่การออกแบบให้มีขนาดกะทัดรัด ด้วยความสูงเพียง 40.2 มม. และน้ำหนักประมาณ 165 กรัม จึงทำให้ไม่ค่อยกินพื้นที่ในกระเป๋ากล้อง ซึ่งเลนส์นี้จะมีรูปร่างที่คล้ายคลึงกับเลนส์ RF50mm f1.8 STM
เปิดมุมมองแห่งการสร้างสรรค์ในรูปแบบใหม่
ด้วยระยะโฟกัสใกล้สุดเพียง 1.05 ม. (ที่ 400 มม.) มีอัตราขยายสูงสุด 0.41 เท่า ทำให้ RF100-400mm f/5.6-8 IS USM เหมาะสำหรับการถ่ายภาพดอกไม้และสิ่งมีชีวิตเล็กๆ โดยดึงเอาเอฟเฟกต์การดึงระยะเลนส์และโบเก้ที่ดีที่สุดของเลนส์เทเลโฟโต้ออกมา โดยเลนส์นี้มาพร้อมกับระบบป้องกันภาพสั่นไหว 5.5 สต็อป และระบบป้องกันภาพสั่นไหวจะเพิ่มขึ้นถึง 6 สต็อป เมื่อใช้งานร่วมกับกล้องที่มีระบบป้องกันภาพสั่นไหวในตัว (In-Body IS) ซึ่งช่วยลดการสั่นของกล้องได้อย่างมีประสิทธิภาพและให้ภาพที่คมชัดแม้ถ่ายภาพในระยะเทเลโฟโต้ที่ 400 มม.
สำหรับเลนส์ RF16mm f/2.8 STM ผู้ใช้สามารถถ่ายภาพอันทรงพลังโดยการปรับมุมมองเพื่อถ่ายภาพวัตถุที่อยู่ใกล้ให้ดูใหญ่ขึ้นหรือให้เล็กลงเหมือนเทียบกับวัตถุที่อยู่ห่างไกลได้เช่นกัน จากเอฟเฟกต์การบิดเบือนของเลนส์มุมกว้างพิเศษเมื่อเราเข้าใกล้วัตถุมากขึ้น (เช่น สัตว์และเด็ก) จะทำให้ภาพที่ได้ดูแปลกตา โดยเลนส์มุมกว้างพิเศษ RF16mm f/2.8 STM ยังครอบคลุมมุมมองภาพแนวทแยง 110 องศา ทำให้สะดวกต่อการถ่ายเซลฟี่ที่ต้องการเก็บภาพคนจำนวนมาก การถ่ายวิดีโอสำหรับใช้ในโซเชียลมีเดีย และถ่ายภาพในที่แคบ นอกจากนี้ความกว้างของรูรับแสงที่ f2.8 ไม่เพียงแค่สร้างโบเก้ที่สวยงาม แต่ยังเป็นเลนส์ที่ยอดเยี่ยมสำหรับการถ่ายภาพดาราศาสตร์ได้เช่นกัน
สนใจดูรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ https://th.canon/th/consumer และบนเฟสบุ๊คทางการของแคนนอน https://www.facebook.com/Canon.thailand/ หรือติดต่อ Call Center โทร 0-2344-9988
#Canonthailand #CanonEOSR3 #CanonEOSRThailand
同時也有8部Youtube影片,追蹤數超過7,800的網紅李4bunzlee ,也在其Youtube影片中提到,strava區段大致上我分成以下 五種類型的訓練區段 1. Z6-7爆發力無氧區段:史上前十名大約1-2分鐘左右騎完 訓練FTP130%-150% 2. Z5-6 VO2max 閾值區間 短區段:史上前十名大約3-6分鐘左右騎完 訓練FTP 105%-130% 3. Z5-6 VO2ma...
ftp 20 30 在 Facebook 的最佳貼文
【從測試FSA新款功率計所延伸的期待】
FSA一直是我很喜歡的品牌,很多產品都用了十年還是一樣好用,今年三月初試用了他們自主研發的一款功率計FSA PowerBox SC,花了一個月的時間測試。原本擔心這種萬元以下的功率計會不穩定,但測了好幾次,品質出乎意料的好。雖然還是有些小問題,但在這個價格下面,已經可以造福許多功率訓練的入門車友和鐵人三項愛好者了……下面分享幾次測試的紀錄、心得、建議與對功率計的期待。優缺點都有整理出來,疫情過後有興趣入手功率計的人可以參考看看。下面是幾次測試的過程和數據:
[測試課表一] 漸速騎50公里丘陵地,兩圈鯉魚山(一圈22.3公里),第一圈輕鬆騎不管強度,第二圈加快一點點,最後5公里再放鬆騎。
◎測試目的與過程:想知道穩定踩踏時功率計的穩定性,以及兩圈鯉魚山的時間跟NP與平均功率之間的關係。
→第一圈盡量放鬆騎,不管轉速,也不看功率,以最輕鬆的方式騎完,時間是48分22秒,NP是165瓦。
→第二圈略微加快,但以氣不喘腿不酸為原則騎完,最後快了三分鐘左右,騎45分06秒,NP是191瓦。
(因為下坡有停踩,又有被紅綠燈影響,所以這邊只看NP)
◎測試數據:
→單圈距離:22.3公里
→單圈爬升:37公尺
→平均溫度:29度
→第一圈:NP 165w / 5秒平均最大功率 546w
→第二圈:NP 191w / 5秒平均最大功率 647w
◎測試結果:功率的即時顯示與最終呈現的數據都很穩定,也符合實際的表現。但在5秒平均最大功率上有誤差,出現在下坡路段,已反饋給廠商。
--
[測試課表二] 爬坡間歇✕3,一趟比一趟快 (第一趟最慢,第三趟最快)
Ⓞ測試目的與過程:因坡度的風阻影響最少,想在同樣騎姿下看「速度vs功率」是否成正比。一開始熱身騎三公里後,開始在熟悉的鯉魚山後山進行測試。為了使三趟的技術影響最小,所以皆沒有抽車,都是採坐姿爬坡。
→第一趟盡量放輕鬆騎,雖然腿還是會酸,但還算輕輕鬆,平均功率是269瓦;
→第二趟想騎得快一點就好,但沒控制好,快太多了,比第一趟快了近12秒,平均功率316瓦;
→第三趟超過九成力,雖還不到全力,但感覺上有比第二趟更用力,平均功率也達339瓦,的確是最高的一趟。
◎測試數據:
→單趟距離:430公尺
→單趟爬升:37公尺
→坡度:8.6%
→平均溫度:30度
→第一趟:平均功率 269w
→第一趟:平均功率316w
→第一趟:平均功率339w
◎測試結果分析與提問:
→平均功率跟費力程度的感覺一致,也跟實際的速度一致:同樣的坡度、在無風的狀況下,騎得愈快,NP、平均功率、最大功率的確愈高。
→NP、平均功率、最大功率的數據都是一趟比一趟高,跟實際騎乘感受和表現出來的速度很一致。想確認的問題是:「NP、平均功率、最大功率的數據是Garmin錶頭計算的?還是Garmin Connect計算的?」回覆:「都是錶頭做計算的,功率計只負責丟出數據讓Garmin接收端做處理。」
→從前一個問題所衍生的下個問題是:「Power Box SC 目前是多久傳輸一次數據給車錶的錶頭或鐵人錶?1秒傳一次數據?或2秒傳一次?……」回覆:「3秒傳一次」
—
[測試課表三] 強度3區40分鐘(穩定騎乘,想像自己在半超鐵的自行車賽段上)
◎測試目的與過程:功率計的穩定性。先花三十分鐘做一些技術和三趟短程高強度爬坡間歇當作熱身後,騎往東華大學外環道,開始今天的測試。全程都以盡量穩定的轉速與功率進行騎乘,每圈按一次錶(紀錄分配平均數據)。
◎測試數據:
→單圈距離:5.8公里,總計四圈東華外環道
→總距離:23公里
→總時間(不包含前三十分鐘熱身):32分鐘
◎測試結果分析:從NP和平均功率來看,這四圈的功率都很穩定。但最大功率(尤其是第二圈)忽然飆高到411瓦,這個數據應是誤差,過程中沒有抽車,也沒忽然重踩。從幾次測試發現,「最大功率」這個數據有時比實際來得高。
—
[測試課表四] 強度4區20分鐘(用接近FTP的強度騎東華大學外環道兩圈)
◎測試目的:功率計的穩定性
◎測試數據:
→單圈距離:5.8公里,總計四圈東華外環道(前兩圈熱身)
→總距離:23公里
→總時間(不包含前二十分鐘熱身):43分鐘
→第一圈:NP 122
→第二圈:NP 159
→第三圈:NP 236
→第四圈:NP 239
◎測試過程與結果:
→前兩圈熱身,主要是在第三與第四圈進行測試,結果很ok,第四圈有試著在同轉速與最小限度下再多輸出一些,功率計有反應出來。
→此次最大功率飆高的情況沒有發生。
→經過這兩次測試,在強度3區與4區穩定騎乘時,實際成績與功率計的輸出關係是十分相符的,good!
—
[優點]
● 價格親民,目前查到的網路售價是9000元。
● NP與平均功率都很穩定,就算是小幅改變輸出也能測量出來,多次測試都跟實際表現相符。
● 安裝與配對車錶與手錶的過程簡潔/方便,而且直接有轉數和功率,不用再另外黏貼磁鐵。
●「齒比」和「曲柄長」還有九種選擇,這點在許多同是大盤和屈柄功率計的產品上來看就個性化很多了,其他品牌比較少有這麼多元的選擇。
[缺點]
●雖有模擬的兩腿平衡數據,但沒有實際的功率數據。
●瞬時最大功率的數據有時會有誤差(有時正常),已回饋,這應該可以透過韌體調整。
[建議]
下面是個人提供給廠商的建議:
●可以了解為了推廣,所以9000元只有單腿數據,雖然有模擬的平衡數據,但還是期望將來有另一版本是有雙腿的「實際數據」,會比較滿足一些進階的需求。尤其是若將來可以實際分別測出兩腳在不同位置所用的「力量」與「方向」,將能幫助運動員量化踩踏效率。
●因為FSA現在有自己的APP,食望之後FSA的APP能寫好方便給其他APP串接的「API」接口(使用者同意後可以把自己數據自動導出到使用者習慣使用的APP或網站),有助於使用者把功率數據匯整到自己慣用的平台上,但希望開放「API」後能讓更多平台授權取得使用者的原始數據,做更細緻且個人化的分析。
●期待將來可以跟「電子變速」的數據整合在一起,就可以「分析/交叉比對」在不同齒比與阻力、轉數的對應關係。可以了解選手在「不同阻力」下所偏好的齒比與轉數;或是反過來,在不同齒比下,偏好處理何種大小的阻力。然而,從功率和轉速只能換算出「總踩踏阻力」,要實際知道車手「每一圈踩踏所面對的實際阻力」,則需要有「踩踏力量向量化」技術的功率計才行。我也知道這個技術門檻很高,不容易做得出來。
●如果是自主研發,我更期待的是能把踩踏的「效率」在不同轉換階段計算出來。多數騎乘在加速時直覺會想著「更用力踩踏」的方式是「肌肉更用力」,但只想著肌肉用力反而會喪失效率,但其實「肌肉用力(Effort)」跟「運動表現(Performance)」之間還有很多環節會損失功率。
Effort → Force → Torque → Power → Gross Power Released, GPR → Form and Wind Resistance → Performance
每一個箭頭處所耗損的能量愈少,代表效率愈高。肌肉用力的程度(Effort)並不等於施加在踏板上的力(Force),例如在下坡時高轉速的踏板一直踩空,肌肉感到很緊張,或是肌肉不自覺繃緊、抽車的力道過猛使全身肌肉緊繃……等,只是空緊張,皆無助於踏板上施加更多的力。此外,對踏板所施加的力量不等於力矩;功率計上的總功率也不等於GPR,這裡是未來的功率計可以多加著墨的地方,若能把箭頭「Force(→)Toruqe」 以及「Power (→) GPR」中的兩個箭頭的「效率」計算出來,更有助於自行車訓練愛好者進行更精確的科學化訓練。
ftp 20 30 在 Facebook 的最佳貼文
知道現在大家因為疫情盡量不要出門,看到很多朋友都要在家訓練台上騎車,我感同身受。我被關了28 天不准出門,所以我知道不能出門的辛苦。
分享我當時被隔離怎麼在訓練台上讓時間可以過得比較快,然後依然還是可以騎到 80-90% 外騎的時長。
開始前,先準備好很多的水 (3-4 x500-700ml)
一個很強的風扇,
一条毛巾。
1. 暖身的時候跟外騎暖身一樣,非常的easy
20-30% 的FTP 都行,就像你外騎見到朋友一樣,先抬槓,說點幹話...慢慢進入狀況
英文是說 「time to get your social in」
2. 暖身的時候可以刷刷手機,看social media
看工作email,付房租,水電費,寫日記等做一些家常在電腦或手機可以做的雜事,
3. 如果心裡很亂,很不想騎車,可以試著禪坐
基本上就是深呼吸,專心在你自己身上,放輕鬆,感受身體每個部位,做點檢查,網路上有很多教禪坐的影片,可以跟著蹭蹭
心定下來後比較容易進入節奏
4. 如果要騎90 分鐘,但自己很不想,可以騙自己,說我們就騎到60 分鐘就好。60分到了再騙一下自己,我們到75 分就好,如果感覺還不錯,不用開會,老婆沒打電話來罵人,就繼續到90分鐘
5. 中間可以想像外騎一樣,停下來,上廁所,「買」 杯咖啡 (自己泡),吃點東西,再上車重新開始。
休息的時機要挑對,像一個main set 主課表做完以後可以稍稍休息
6. 看自己想看的電影,連續劇,聽podcast ,音樂等等
7. 約跟朋友一起騎車,zoom視訊,或是打電話,請朋友一起陪十分鐘,打完電話,再找下一個繼續抬槓...
8. 還是無聊的話,可以弄一些drill 技巧訓練
1分鐘 100-125rpm 高踏頻,休1 分鐘,重複到甘願
30 秒 單腿,30秒休息,30秒另一條腿,30秒休息,重複到滿意
1分鐘抽車 3-4 分鐘坐著 重複到甘願
9. 可以試著參加zwift 比賽,但你會發現這世界有很多 都不外騎的人但都是20-40kg,還有FTP 沒校正回歸 就400w 要小心被拉爆
10. 可以放個鏡子,看自己趴的好不好,踏板踩的好不好 等等
ftp 20 30 在 李4bunzlee Youtube 的最佳解答
strava區段大致上我分成以下
五種類型的訓練區段
1. Z6-7爆發力無氧區段:史上前十名大約1-2分鐘左右騎完 訓練FTP130%-150%
2. Z5-6 VO2max 閾值區間 短區段:史上前十名大約3-6分鐘左右騎完 訓練FTP 105%-130%
3. Z5-6 VO2max 閾值區間 長區段:史上前十名大約6-12分鐘左右騎完 訓練FTP105%~120%
4. Z4-5 SST 訓練:史上前十名大約20-30分鐘左右騎完 訓練FTP95% 
5. Z3-4 比賽配速訓練:史上前十名大約60分鐘騎完 甚至更長都可以
訓練FTP80%~90% 長坡比賽配速
我平日的外騎時間我會抓1:30-2:00左右
把上面所講的五種區間 路段
看自己想加強什麼 或者身體狀況
塞進你的路線
如果真的累!那就不用想太多
整路Z2-3恢復為主!
否則也完成不了自己設定的課表很悶
最後提醒各位一些小地方
比如做完一個「區段」
到下一個區段時 ⚠️
時速可以儘量28-32km
基本上還是會有Z2-3的訓練效果
這樣整個外騎訓練效率質量會提升不少
才不會有太多垃圾里程
如果這個影片對大家有幫助
不要吝嗇❤️
按讚追蹤FB粉絲團「李4瘋單車」
https://www.facebook.com/bunzlee4/
按讚訂閱分享我的YT「李4bunzlee」
https://youtube.com/channel/UCgBeeH2owg8OXSnNVv7jbHw
按讚追蹤IG
「bboybunzlee」
不錯過任何李4練肖喂內容喔!
ftp 20 30 在 李4bunzlee Youtube 的最讚貼文
西進武嶺SUB330/310
7個重點
1:16
1.最好要有破四的經驗
能夠破四!說明你的有氧基礎程度還不錯
(破四的攻略可以看這裡)
2:00
2.週時數一樣8-12小時
一週騎車5天 休2天
用這5天去分配這8-12小時
平均1.5-2.5小時
我自己當年不管是破330 310
都掌握這個原則
週時數平均是8H 每週5天休息2天
2:50
3.增肌減脂
除了BMI22內很瘦但是沒有力量也不行
體脂肪12%內!保持頂尖的身體素質
可以去健身房做檢測
關鍵在飲食控管 與 訓練方式
低GI 無糖 低油 酒精 油炸 多吃蔬菜果
五穀雜糧 高纖維
再來要加入高強度間歇 無氧訓練
補充體重x2的蛋白質公克數來增肌
4:19
4.加強訓練VO2max閾值區間
嘗試慢慢拉長訓練時間
提升FTP (影片在這邊)
FTPx0.90 - 0.95
做10分鐘 20分鐘 30分鐘
教大家一個公式
如果你的體重x4-4.5 就是你的FTP
要330/310真的很有機會喲!
因為FTP夠高 肌肉強度夠
在做Z3區間時心率會非常穩定
5:28
5.測驗2H節奏區間是否穩定
FTPx0.8 - 0.85
推力比是否有3-3.5?
李4我全年武嶺盃
62 kg x 3.5 = 217w(武嶺306均瓦227)
觀察瓦數 與 心跳是否穩定?
瓦數是Z3 心率卻太高?
要馬有氧基礎不夠
或VO2max 不夠強
外騎基本上多個10-20w都很合理
6:53
6.人止關一定要有能力跟完全程
而且心率 瓦數最多Z4下限區間!
基本上330/310 就看自己的目標去配速了
就用3-3.5推力比配速
記得觀察心率
7:58
7.車子想辦法7kg內
按讚追蹤FB粉絲團「李4瘋單車」
https://www.facebook.com/bunzlee4/
按讚訂閱分享我的YT「李4bunzlee」
https://youtube.com/channel/UCgBeeH2owg8OXSnNVv7jbHw
按讚追蹤IG
「bboybunzlee」
ftp 20 30 在 李4bunzlee Youtube 的最讚貼文
如何提升FTP?
1.規律的生活作息與飲食
睡足6-7小時
多吃原型食物
低糖 幫助恢復 抗氧化
具備良好身體素質與狀態
2.具備基礎有氧能力
每週最少3-4次有氧練習
持續5-8週
3.增加Zone4訓練的時間
FTP or 最大心率x0.85-0.9
注意休息!恢復!
每週加入2次 每次20-30分鐘
4.外騎可以設定2-3個區段做ITT訓練
10分鐘 FTP100% -110%
團騎時盡量出去頂風破風
抓下把訓練核心
5.參加地方短爬坡 ITT比賽
小櫻桃 853 佛陀世界 136 陽明山kom
比如20-30分鐘左右的地方賽事
以賽代訓 激發極限
請追蹤 訂閱 按讚 分享給需要的車友!
感謝大家的支持
FB:李4瘋單車
YT:李4bunzlee
IG: bboybunzlee