#積極建設回應 #ACR
#你今晚好好對話了嗎?
.
在瑞典,有句諺語說:「分享讓喜悅加倍;分擔讓哀傷減半。」
.
月有陰晴圓缺,人有悲歡離合。對於負向事件,我們有些人會試圖重新架構,轉換觀點給予正向的詮釋。也有些人可能很難擺脫,負向思緒始終糾纏不清。研究顯示,一般而言,人們經歷的正向情緒比負向情緒多出2.5倍;再者,很多時候,我們也同時體驗到正向情緒和負向情緒(Trampe, Quoidbach, & Taquet, 2015)。
.
然而,負向事件的效力,尤其是反覆翻攪的反芻思緒(ruminative thinking)或「沾黏」(stickiness),往往使人愁緒如麻、難以自拔。有些人甚至猶豫籌躇,不敢透露自己有正向事件的經驗。
.
當我們遇到逆境、挑戰、麻煩和創傷,大多數情況(如果不是全部),通常會尋求配偶、伴侶、朋友、家人和社區支持。研究顯示,社會支持在因應此等困境方面,對情緒和身體都是有益的。這對於身為臨床治療師的你來說,應該不是什麼新鮮的發現。
.
但是,你有考慮過事情的另一面嗎?好事也會發生,而且對我們大多數人來
說,好事比壞事來得更頻繁。吊詭的是,心理治療師卻不太可能問他們的案主:「事情順遂的時候,你都是做了哪些事?」,特別是伴侶關係順遂的時候。
.
正向事件的自我披露(self-disclosure),對於平穩的情感連結和親密關係的發展至關重要。在本次療程,我們將介紹討論一種特殊的自我披露。這種自我披露的進行方式具有建設性(constructive)和積極正向(positive)的特徵。
.
雪莉蓋博(Shelly Gable)和同僚(Gable et al., 2004; Maisel & Gable, 2009)研究探討,自我披露以及好事發生之後找人分享,諸如此類的行為對於個人本身內在(intrapersonal)和人際之間(interpersonal)兩方面的影響。朗斯頓(Langston, 1994)研究發現,當人們經歷正向事件並與他人分享該等好消息,會產生更大的正向迴響,而且遠超過正向事件本身價值的效應。朗斯頓將這稱為「資本化」(capitalization),雪莉·蓋博借用這個術語來指稱,「彼此分享正向好消息,從而獲得額外效益的過程」。
.
資本化涉及被看見、感知、重視和擴展的過程。由於共享者和回應者的此等反應,提供了旁觀者的佐證,從而讓正向事件的經驗、感知、價值等等,獲得相加相乘的擴大效應。資本化提供技巧,讓我們得以調節自我的反應。
.
雪莉·蓋博和同僚(Gable et al., 2004)針對回應方式,區分出四種不同的風格,在這四種回應風格中,積極建設回應(active constructive responding,簡稱ACR),與日常正向情感和幸福感的提升有所關聯,而且其增益效應超出了正向事件本身和其他日常事件的影響。
.
【#親愛之人分享美好事件的四種回應方式】
.
◼️1◼️積極X建設性
.
定義:熱情支持,闡明經驗;讓當事人感受到經驗獲得對方證實和理解;事件得到重溫、擴大;提問有關事件展開的具體和相關問題,以及發生的原因;進一步探問與之相關的其他正向事件。
例子:「太棒了!我真是為你很高興。你在新職位一定可以表現很出色。」
表現:保持目光接觸,微笑,表現出正向情緒。
.
◼️2◼️積極X破壞性
.
定義:潑冷水,使談話陷入停頓;讓當事人感到羞愧、尷尬、内疚或生氣。
例子:「慘了,你要是升遷,那以後從星期一到星期五,還有週末上半天,就等著綁在公司,累得像隻狗。」
表現:酸言酸語指出壞處;表現負向情緒,例如:皺眉、撇嘴等表情,以及非語言的暗示。
.
◼️3◼️消極X建設性
.
定義:安靜、低調的支持;話題默默淡出;讓當事人覺得不重要、誤解、尷尬和内疚。
例子:「還不錯啦,公司有想到可能給你升遷。」
表現:開心,但缺乏熱情,表情低調;輕描淡寫;幾乎沒有正向情緒表達。
.
◼️4◼️消極X破壞性
.
定義:忽略事件;話題從沒開始;讓當事人感到困惑、内疚或失望。
例子:「升遷哦?了不起喔,快去把工作服換下來,弄飯來吃,我們肚子都快餓扁了。」
表現:很少或沒有目光接觸,缺乏興趣,轉身離開房間。
.
雪莉·蓋博和同僚發現,在分享個人正向事件經驗時,若是感知有獲得到積極、建設性的回應(而不是消極或破壞性的回應),那資本化的益處就能得到更進一步的提升。再者,在親密關係當中,伴侶若能經常熱情回應資本化的正向經驗分享,也會與更高的關係幸福感(例如:親密感、日常婚姻滿意度),有正向相關。有越來越多研究顯示,對於正向事件的積極建設回應(ACR),可能增強情侶的親密感,提升日常的快樂,以及減少衝突。自我披露和伴侶正向回應都有助於互動的親密經驗。
.
具體來說,資本化涉及以下的層面(Lemay, Clark, & Feeney, 2007):
.
☑️伴侶彼此分享好消息,會感到自己的價值獲得佐證。資本化給予伴侶正向訊息,肯定自我的重要性。
.
☑️與人分享正向事件的好消息,會體驗到更多的正向情緒、更高的生活滿意度,這是無法分享或選擇不告訴別人正向事件,比較難以感受的體驗。
.
☑️分享的效益超出了人們在事件本身所經歷的正向情緒和生活滿足感。
.
☑️正向事件的分享,包含討論該等事件的相關問題、重要面向以及影響等,這些方面的分享都有助於鞏固關係。
.
--
.
本文摘自《#正向心理治療臨床手冊》(Positive Psychotherapy: Clinician Manual),作者Tayyab Rashid與Martin P. Seligman皆為西方正向心理學領域之重要推手。
.
👉閱讀更多「正向心理學」提案:https://reurl.cc/ZGzyv3
disclosure 1994 在 หนังโปรดของข้าพเจ้า Facebook 的精選貼文
Disclosure (8/10)
ในยุคปัจจุบัน หลังกระแส MeToo ที่ทำให้ทั่วโลกตื่นตัวเรื่องการคุกคามทางเพศจากผู้มีอำนาจในที่ทำงาน การได้เห็น Disclosure หนังปี 1994 พูดเรื่องนี้อย่างตรงไปตรงมาถือว่ามาก่อนกาลมาก แถมยังฉลาดเขียนบทให้คนมีอำนาจเป็นเพศหญิงด้วย โดยหนังเป็นส่วนผสมระหว่างแนว courtroom dramas หรือว่าความในศาล แต่ในหนังอยู่แค่ขั้นตอนไกล่เกลี่ย ผสมกับการเมืองในองค์กร ชิงดีชิงเด่นสลับเตะขัดขากันเข้มข้นมาก
-------------------------------
'ทอม แซนเดอร์ส' (Michael Douglas) หัวหน้าฝ่ายผลิตชิ้นส่วนผลิตภัณฑ์ไอทีที่กำลังวุ่นวายกับความผิดพลาดของแผนกตัวเอง คาดหมายว่าตัวเองจะได้เลื่อนตำแหน่งขึ้นเป็นรองประธานก่อนควบรวมบริษัท แต่กลับต้องประหลาดใจเมื่อบริษัทเลือกแต่งตั้ง 'เมเรดิช' (Demi Moore) อดีตคนรักเก่าของซึ่งเป็นคนนอกให้กลายมาเป็นเจ้านาย และในการประชุมสองต่อสองคืนนั้นเอง เธอเป็นฝ่ายรุกเข้าหาโดยที่เขาพยายามปฏิเสธ ก่อนที่วันต่อมาเขาต้องตกเป็นจำเลยในข้อหาล่วงละเมิดทางเพศเจ้านายคนสวยของตัวเอง ซึ่งปฏิเสธอย่างไรก็ไม่มีใครเชื่อ เพราะประวัติเก่าเขาช่ำชองเรื่องผู้หญิงและความคุ้นเคยกันในฐานะกิ๊กเก่า
.
ถ้ามาดูในยุคนี้ที่เรื่อง sexual harassment ถูกอธิบายกันแพร่หลายทั้งในซีรีส์ The Morning Show และในหนังเรื่อง Bombshell ว่าการคุกคามทางเพศมันไม่ได้จำกัดแค่การแต๊ะอั๋งหรือข่มขืน แต่ยังกว้างไปถึงการใช้อำนาจบีบหรือกดดันคนฐานะต่ำกว่าให้ตกอยู่ในสภาพจำยอม (เจ้านาย/ลูกน้อง) และยังกว้างไปถึงการใช้คำพูด, ท่าทาง, และสายตาที่ทำให้อีกฝ่ายกระอักกระอ่วน ซึ่งพอย้อนไปดูหนังที่สร้างปี 1994 ก็ต้องประหลาดใจว่าค่านิยมการตีความหมายของหนังค่อนข้างก้าวหน้าทีเดียว ในแง่ของการแยกแยะความเหมาะสม ถึงแม้ตัวเรื่องจะมีความชายเป็นใหญ่อยู่พอสมควร ดังจะเห็นได้จากไอเดียของหนังมันประมาณว่า การคุกคามทางเพศโดยผู้มีอำนาจไม่ได้จำกัดแค่เจ้านายเพศชายกระทำต่อลูกน้องเพศหญิง เพราะถ้าผู้หญิงมีอำนาจก็มีแนวโน้มจะคุกคามทางเพศได้เหมือนกัน
.
แต่เรามองเป็นความฉลาดของหนังที่จะพูดประเด็นนี้โดยกลับหัวกลับหางจากความเป็นไปได้ส่วนใหญ่ ถ้าย้อนไปช่วงยุค 90's ยังไงเพศชายก็มีอำนาจในตำแหน่งใหญ่ ๆ ของบริษัทมากกว่าเพศหญิง แล้วถ้าพล็อตแบบนี้จะเล่าเพื่อให้คนตระหนักถึงความสำคัญของ sexual harassment เล่าแบบเจ้านายผู้ชายเกลี้ยกล่อมลูกน้องสาวให้มีอะไรด้วยแต่ไม่สำเร็จ เลยฟ้องลูกน้องว่ามาลวนลามตัวเองมันก็คงเป็นพล็อตที่ตลกมาก ๆ หรือถ้าจะบิดเป็นให้ลูกน้องฟ้องเจ้านายก็ได้อยู่ ก็จะเหมือนหนังในปัจจุบันที่ทำให้เห็นว่าโครงสร้างการใช้อำนาจปกป้องคนตำแหน่งใหญ่ ๆ ที่มีความสำคัญกับบริษัทเพื่อปิดปากคนตัวเล็ก ๆ จะเป็นอย่างไร
.
พอหนังมันเล่าโดยให้เจ้านายเพศหญิงฟ้องลูกน้องเพศชาย เราเลยรู้สึกว่าเทียบกับยุคสมัยแล้วมันสร้างผลกระทบและเขียนบทเชิงสอนได้เห็นภาพกว่า สามารถจับเอาพฤติกรรมต่าง ๆ มาลงรายละเอียดว่าไม่เหมาะสมอย่างไร เช่น ทอม แซนเดอร์ส เองก็ตีก้นและนวดไหล่เลขาสาวด้วยความไม่รู้ตัวว่าผิด ซึ่งเลขาก็ไม่กล้าพูดอะไรเพราะเขาเป็นเจ้านาย มันมีอำนาจที่เหนือกว่าปิดปากไปโดยปริยายอยู่ หรืออย่างเมเรดิช ที่สามารถใช้สถานะเจ้านายเหนือกว่าคอยกลั่นแกล้งทอม ให้ดูไม่ดีในสายตาคนบริษัท เช่นแกล้งนัดเวลาผิด รวมถึงการขู่ด้วยตำแหน่งการงาน
.
รวม ๆ แล้วหนังสนุกดี เก่งด้วยที่สามารถเล่าการไกล่เกลี่ยในศาลพร้อม ๆ กับการเมืองในองค์กร บริษัทที่ต้องการปิดดีลควบรวมกิจการด้วยตัวสินค้าเดโม่สุดยอดเยี่ยม แต่ต้องปกปิดความผิดพลาดในขั้นตอนการผลิตว่าไม่สามารถทำออกมาขายในเชิงพาณิชย์ได้จนกว่าจะแก้ไขสำเร็จ ซึ่งแน่นอนว่าเป็นอุปสรรคที่เลื่อยขาทอม แซนเดอร์ส อยู่ แถมยังมาโดนบีบให้ลาออกจากข้อหาคุกคามทางเพศ ส่วนในศาลก็เล่าสนุก ทนายทั้งสองฝ่ายต่างพยายามจับผิดเล่นงานฝ่ายตรงข้าม เข้มข้นครบรสแบบนี้ต้องไม่พลาดเลย
.
.
.
.
ดูแบบซับไทยได้เลยใน Netflix: https://www.netflix.com/watch/446102
.
.
.
.
ดูรีวิวซีรีส์จากทุกค่ายได้ที่: http://bit.ly/2STE5O4
อ่านเกร็ดหนังคั่นเวลา: http://bit.ly/2QMsEVV
หรืออยากอ่านสาระยาว ๆ แก้เบื่อ: http://bit.ly/2QnHCmb
#หนังโปรดของข้าพเจ้า
disclosure 1994 在 หนังโปรดของข้าพเจ้า Facebook 的最佳解答
Disclosure (1994) สามารถดูได้ใน Netflix
• ในยุคปัจจุบัน หลังกระแส MeToo ที่ทำให้ทั่วโลกตื่นตัวเรื่องการคุกคามทางเพศจากผู้มีอำนาจในที่ทำงาน การได้เห็น Disclosure หนังปี 1994 พูดเรื่องนี้อย่างตรงไปตรงมาถือว่ามาก่อนกาลมาก แถมยังฉลาดเขียนบทให้คนมีอำนาจเป็นเพศหญิงด้วย
• แต่จริง ๆ ในช่วงนั้นยังมีหนังอีก 2 เรื่องที่พูดประเด็น sexual harassment คือ Oleanna ปี 1994 ของเดวิด มาเม็ต (คนเขียนบท Glengarry Glen Ross, Wag the Dog) ว่าด้วยเรื่องนักศึกษาเข้าพบอาจารย์เพื่อถามเหตุว่าทำไมสอบตก และ Gross Misconduct หนังที่ นาโอมิ วัตต์ ได้รับบทนำครั้งแรกในบทนักศึกษากล่าวหาว่าอาจารย์ข่มขืนเธอ
• หนังเป็นส่วนผสมระหว่างแนว courtroom dramas หรือว่าความในศาล แต่ในหนังอยู่แค่ขั้นตอนไกล่เกลี่ย ผสมกับการเมืองในองค์กร ชิงดีชิงเด่นสลับเตะขัดขากันเข้มข้นมาก
• ไมเคิล ไครช์ตัน คนเขียนนิยายเรื่อง Disclosure โด่งดังจากนิยายแนวไซไฟทริลเลอร์มากกว่า เช่น Westworld, Jurassic Park, Congo, และ Timeline ส่วนในเรื่องนี้มีความเป็นเทคโนโลยีสอดแทรกเข้ามานิดนึง คือพูดถึง VR เทคโนโลยีเสมือนจริงที่สแกนรูปร่างคนได้ แอบล้ำกว่ายุคนี้เสียอีก
• เดมี่ มัวร์ ฉากนั้นฉากเดียวคือร้อนแรงมาก ถ้าสมัยนี้อาจต้องมาถกเถียงกันว่าพูดถึงอำนาจของเพศหญิงแต่หนังเล่าจากสายตาผู้ชาย (ทั้งกำกับ/เขียนบท/กำกับภาพ ชายล้วน)
-------------------------------------
'ทอม แซนเดอร์ส' (Michael Douglas) หัวหน้าฝ่ายผลิตชิ้นส่วนผลิตภัณฑ์ไอทีที่กำลังวุ่นวายกับความผิดพลาดของแผนกตัวเอง คาดหมายว่าตัวเองจะได้เลื่อนตำแหน่งขึ้นเป็นรองประธานก่อนควบรวมบริษัท แต่กลับต้องประหลาดใจเมื่อบริษัทเลือกแต่งตั้ง 'เมเรดิช' (Demi Moore) อดีตคนรักเก่าของซึ่งเป็นคนนอกให้กลายมาเป็นเจ้านาย และในการประชุมสองต่อสองคืนนั้นเอง เธอเป็นฝ่ายรุกเข้าหาโดยที่เขาพยายามปฏิเสธ ก่อนที่วันต่อมาเขาต้องตกเป็นจำเลยในข้อหาล่วงละเมิดทางเพศเจ้านายคนสวยของตัวเอง ซึ่งปฏิเสธอย่างไรก็ไม่มีใครเชื่อ เพราะประวัติเก่าเขาช่ำชองเรื่องผู้หญิงและความคุ้นเคยกันในฐานะกิ๊กเก่า
.
ถ้ามาดูในยุคนี้ที่เรื่อง sexual harassment ถูกอธิบายกันแพร่หลายทั้งในซีรีส์ The Morning Show และในหนังเรื่อง Bombshell ว่าการคุกคามทางเพศมันไม่ได้จำกัดแค่การแต๊ะอั๋งหรือข่มขืน แต่ยังกว้างไปถึงการใช้อำนาจบีบหรือกดดันคนฐานะต่ำกว่าให้ตกอยู่ในสภาพจำยอม (เจ้านาย/ลูกน้อง) และยังกว้างไปถึงการใช้คำพูด, ท่าทาง, และสายตาที่ทำให้อีกฝ่ายกระอักกระอ่วน ซึ่งพอย้อนไปดูหนังที่สร้างปี 1994 ก็ต้องประหลาดใจว่าค่านิยมการตีความหมายของหนังค่อนข้างก้าวหน้าทีเดียว ในแง่ของการแยกแยะความเหมาะสม ถึงแม้ตัวเรื่องจะมีความชายเป็นใหญ่อยู่พอสมควร ดังจะเห็นได้จากไอเดียของหนังมันประมาณว่า การคุกคามทางเพศโดยผู้มีอำนาจไม่ได้จำกัดแค่เจ้านายเพศชายกระทำต่อลูกน้องเพศหญิง เพราะถ้าผู้หญิงมีอำนาจก็มีแนวโน้มจะคุกคามทางเพศได้เหมือนกัน
.
แต่เรามองเป็นความฉลาดของหนังที่จะพูดประเด็นนี้โดยกลับหัวกลับหางจากความเป็นไปได้ส่วนใหญ่ ถ้าย้อนไปช่วงยุค 90's ยังไงเพศชายก็มีอำนาจในตำแหน่งใหญ่ ๆ ของบริษัทมากกว่าเพศหญิง แล้วถ้าพล็อตแบบนี้จะเล่าเพื่อให้คนตระหนักถึงความสำคัญของ sexual harassment เล่าแบบเจ้านายผู้ชายเกลี้ยกล่อมลูกน้องสาวให้มีอะไรด้วยแต่ไม่สำเร็จ เลยฟ้องลูกน้องว่ามาลวนลามตัวเองมันก็คงเป็นพล็อตที่ตลกมาก ๆ หรือถ้าจะบิดเป็นให้ลูกน้องฟ้องเจ้านายก็ได้อยู่ ก็จะเหมือนหนังในปัจจุบันที่ทำให้เห็นว่าโครงสร้างการใช้อำนาจปกป้องคนตำแหน่งใหญ่ ๆ ที่มีความสำคัญกับบริษัทเพื่อปิดปากคนตัวเล็ก ๆ จะเป็นอย่างไร
.
พอหนังมันเล่าโดยให้เจ้านายเพศหญิงฟ้องลูกน้องเพศชาย เราเลยรู้สึกว่าเทียบกับยุคสมัยแล้วมันสร้างผลกระทบและเขียนบทเชิงสอนได้เห็นภาพกว่า สามารถจับเอาพฤติกรรมต่าง ๆ มาลงรายละเอียดว่าไม่เหมาะสมอย่างไร เช่น ทอม แซนเดอร์ส เองก็ตีก้นและนวดไหล่เลขาสาวด้วยความไม่รู้ตัวว่าผิด ซึ่งเลขาก็ไม่กล้าพูดอะไรเพราะเขาเป็นเจ้านาย มันมีอำนาจที่เหนือกว่าปิดปากไปโดยปริยายอยู่ หรืออย่างเมเรดิช ที่สามารถใช้สถานะเจ้านายเหนือกว่าคอยกลั่นแกล้งทอม ให้ดูไม่ดีในสายตาคนบริษัท เช่นแกล้งนัดเวลาผิด รวมถึงการขู่ด้วยตำแหน่งการงาน
.
รวม ๆ แล้วหนังสนุกดี เก่งด้วยที่สามารถเล่าการไกล่เกลี่ยในศาลพร้อม ๆ กับการเมืองในองค์กร บริษัทที่ต้องการปิดดีลควบรวมกิจการด้วยตัวสินค้าเดโม่สุดยอดเยี่ยม แต่ต้องปกปิดความผิดพลาดในขั้นตอนการผลิตว่าไม่สามารถทำออกมาขายในเชิงพาณิชย์ได้จนกว่าจะแก้ไขสำเร็จ ซึ่งแน่นอนว่าเป็นอุปสรรคที่เลื่อยขาทอม แซนเดอร์ส อยู่ แถมยังมาโดนบีบให้ลาออกจากข้อหาคุกคามทางเพศ ส่วนในศาลก็เล่าสนุก ทนายทั้งสองฝ่ายต่างพยายามจับผิดเล่นงานฝ่ายตรงข้าม เข้มข้นครบรสแบบนี้ต้องไม่พลาดเลย
Director: Barry Levinson (ผู้กำกับ Rain Man, Good Morning Vietnam)
novel: Michael Crichton
screenplay: Paul Attanasio (เขียนบท Quiz Show, Donnie Brasco, The Good German)
Genre: drama, thriller
8/10
#หนังโปรดของข้าพเจ้า